แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับการศึกษาในศตวรรษที่ 21: กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านโป่งน้ำร้อน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผลการวิจัยพบว่า
1. สภาพการการบริหารจัดการงานด้านหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนบ้านโป่งน้ำร้อน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 พบว่า โรงเรียนบ้านโป่งน้ำร้อนได้ดำเนินการเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรที่เกี่ยวข้องคือ การสร้างความตระหนักแก่ ครูผู้สอนผู้บริหารกรรมการสถานศึกษา ผู้นำชุมชน ผู้ปกครองและนักเรียนการพัฒนาให้บุคลากรใน โรงเรียนมีความรู้ความเข้าใจ เห็นความสำคัญละความจำเป็นที่จะต้องร่วมมือกันจัดทำหลักสูตร มีการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง จัดทำโครงสร้างหลักสูตรแกนกลางสถานศึกษาออกแบบการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ การวัด และประเมินผลจัดการเรียนการสอนที่ได้รับมอบหมายได้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนิน การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา รวมไปถึงนำข้อมูลและปัญหาการพัฒนาคุณภาพการศึกษามาปรับปรุงและพัฒนา กระบวนการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาปรับปรุงและพัฒนาแผนพัฒนาคุณภาพ
2. การเสนอแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนบ้านโป่งน้ำร้อน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพครูและผู้บริหารสู่ความเป็นมืออาชีพยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาสื่อ นวัตกรรม การเรียนรู้ และยุทธศาสตร์ที่ 3 การประกันคุณภาพหลักสูตรส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนเพื่อพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา
The School - Based Curriculum Guideline of Management relevant to the 21st Century Education: Case study of Ban Pong Nam Ron School under Chiang Rai Educational Service Area Office 1
The purpose of this research was to study the state of the school - based curriculum administration of Ban Pong Nam Ron School under Chiang Rai educational service area office 1 and to offer the School - Based curriculum Approach relevant to the 21st century education of Ban Pong Nam Ron School under Chiang Rai educational service area office 1. The population of the study were the teaching staffs, school administrators, and school committee of Ban Pong Nam Ron School. The instruments of the study comprised a series of questionnaires for the study, Activity pattern plan, focus group interviews. The obtained data from focus group interviews were analyzed by content analysis process. The data from the study of document were statistically analyzed through frequency, percentage, mean, and standard deviation.
The finding are as follows,
1. The state of the school - based curriculum administration of Ban Pong Nam Ron School under Chiang Rai educational service area office 1 were found that Ban Pong Nam Ron School established the personnel preparation as; awareness raising among teaching staffs, school administrators, school committee, community leaders, parents, and students, the implement of school staffs was to raise the knowledge, importance and necessity to compose the curriculum cooperatively; the concerned data analyzing; composing the core curriculum structure; designing the learning activities, lesson plan, instructional materials/local learning site; the measurement and evaluation of instructional management which relevant to the objectives of the school - based curriculum; composing the report of conclusion of the school - based curriculum management; including, gathering the data and the problems of educational quality to improve and to develop the administration of the school - based curriculum and the educational development plan.
2. The recommendations of the school - based curriculum administration of Ban Pong Nam Ron School under Chiang Rai educational service area office 1 were as follows; the first strategy was to develop the potential of instructors and administrators to be experts; the second strategy was to develop instructional materials and learning innovations; and the third strategy was to qualify the curriculum and enhance the involving of all sections to implement the school - based curriculum.
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว