แนวทางการส่งเสริมครูด้านการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูในโรงเรียนบ้านสันติสุข อำเภอแม่จัน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงรายเขต 3
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผลการศึกษาพบว่า สภาพการทำวิจัยในชั้นเรียน มีการทำวิจัยด้านการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล เฉพาะครูประจำชั้น ครูทุกคนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และการสอนของตนเอง มีการทำการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมในการเรียนรู้ทั้งเต็มรูป แบบและวิจัยหน้าเดียว ส่วนสภาพการส่งเสริม โรงเรียนมีการกำหนดเป้าหมายการปฏิบัติงานวิจัยในชั้นเรียนรายปีและมีการ กำหนดครูพี่เลี้ยงให้บุคลากร ให้ครูมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้านความรู้และประสบการณ์ในการทำวิจัยในชั้นเรียน จัดหา อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เพื่อส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียน เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ กระดาษอัดสำเนา ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการทำวิจัยในชั้นเรียน ตามทฤษฎีปัจจัยคู่ของ Herzberg ด้านปัจจัยจูงใจ 5 ด้าน ประเด็นที่เห็น ว่าเป็นระดับปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานมาก คือ ด้านนโยบายบริหารขององค์กร และมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล
ส่วนแนวทางการส่งเสริมการทำวิจัยในเรียนของครู คือ โรงเรียนควรมีการกำหนดนโยบายด้านการวิจัยที่ชัดเจน มีการ พัฒนางานวิจัยโดยเชิญวิทยากรทีมีความรู้มาให้การอบรม ส่งเสริมให้ครูทำผลงานประกวดในระดับต่างๆ และนิเทศ ติดตามผล การดำเนินงานด้านการวิจัยในโรงเรียนเป็นระยะ
Guidelines for Teacher Promoting in Classroom Research at Ban Santisuk School, Meachan District, Chiangrai Primary Educational Service Office Area 3
This research aimed to study the current promoting state of classroom research, important factors that influenced to classroom research and presents the guidelines of teacher promoting in classroom research at Ban Santisuk School, Meachan District,Chiangrai primary Educational Service Area Office 3. The first part focused on the current states as follows individual student analysis, self-assessment to developing teaching lesson plan, student case study, research and innovation development for learning and the important factors. The second part was present the guideline for classroom research promoting. The data were collected by using hygiene factors of the Two-Factor Herzberg’s Theory. The populations were the director and 18 teachers in Ban Santisuk School. Research tools used for collecting data consisted of open-ended questionnaire, checklist and brainstorming meeting notes.
The results revealed that the current state of classroom research showed that only the class teachers have done the analysis of individual student but full text and single-paged researches were done by all teachers. In terms of the current promoting state of classroom research, the school has assigned the teachers annual classroom research and classroom research mentors, to exchange their opinions and experience. The school has provided facilities to promote classroom research such as computers and paper.
The important factors that influenced of classroom research analyzed by using 5 hygiene factors of the Two-Factor Herzberg’s Theory. The most influenced factor was the administration policy and the lowest was personal relationship.
The guidelines for teacher promoting classroom research at Ban Santisuk School should include the following: the clear classroom research policy, research experts visit teachers, research competition in several levels and periodical motoring and supervision.
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว