CLASSROOM DISCOURSE ANALYSIS: A CASE STUDY OF FIRST-YEAR NON-ENGLISH MAJORS IN PU’ER UNIVERSITY
Main Article Content
บทคัดย่อ
This study, from a sociocultural perspective, aimed to find out the classroom discourse patterns used in the college English of Pu’er University, including the language forms and interactional modification checks as well as the teachers’ use of native language.
With the qualitative case study design, such instruments as classroom observation and interview were employed. Based on the Sinclair and Coulthard IRF, speech act theory and interactional modification, the study was conducted in non-English major class in Pu’er University, involving three classes and 16 interviewees selected among them. Throughout observations of three lessons and 3 hours interview, the study examined the strategies employed by non- English majors in natural classroom contexts, based on that, what patterns used in Pu’er University were explored.
The results were found that IRF structure (initiation-response-follow-up) occurred in the highest frequency among the discourse patterns. In terms of language forms and interactional modification, the act of directives was the most frequently used by the teachers, followed by assertives and commisives act while declarations were not found in the research. In addition, comprehension checks and confirmation checks was respectively the most frequently used mode of modification. Furthermore, it was revealed that the teachers mainly used Chinese to explain English grammatical rules, the terms of the text, translate some words and to assign the task.
The current study would be beneficial for English teachers in designing communicative courses and adjusting teaching methodology. Students could also gain benefit from the data to find out the weak points, thus, they could solve their problems with cleared aims.
การวิเคราะห์วาทกรรมในชั้นเรียน : กรณีศึกษาของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่ไม่ได้เรียนวิชาเอกภาษาอังกฤษในมหาวิทยาลัยผู่เออร์
ในประเทศจีน มีการพัฒนาทางด้านสังคมและการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศขึ้นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งความ สัมพันธ์ระหว่างการสอนและการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษในระดับมหาวิทยาลัย ตามที่หลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษของ ระดับมหาวิทยาลัย ปี พ.ศ.2550 ซึ่งได้กล่าวถึงหลักการพื้นฐานของการศึกษารายวิชาภาษาอังกฤษในระดับมหาวิทยาลัยไว้ว่า ให้ ผู้เรียนมีทักษะทางการสื่อสาร และความเข้าใจเกี่ยวกับนานาชาติ ดังนั้นการศึกษารายวิชาภาษาอังกฤษในระดับมหาวิทยาลัยจึง เป็นเรื่องที่น่าสนใจเป็นอย่างมากในการวิเคราะห์เกี่ยวกับวาทกรรมในชั้นเรียน (Classroom Discourse) รายวิชาภาษาอังกฤษใน ระดับมหาวิทยาลัย เพื่อทำให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และทำให้ผู้เรียนเป็นผู้เชี่ยวชาญในการใช้ภาษาอังกฤษ
การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้านวัฒนธรรมทางสังคม ซึ่งรวบรวมข้อมูลจากการสังเกตการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ภาษาอังกฤษในห้องเรียน จำนวน 3 บทเรียน และการสัมภาษณ์จำนวน 3 ชั่วโมง เพื่อค้นหาแบบแผนวาทกรรมในชั้นเรียน ที่เหมาะสมกับรายวิชาภาษาอังกฤษในระดับมหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยผู่เออร์ ตลอดจนรูปแบบการใช้ภาษาและการตรวจ เทียบปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน รวมไปถึงการใช้ภาษาจีนในห้องเรียนของผู้สอนเช่นกัน
ผลการวิจัยพบว่า มีการใช้รูปแบบวาทกรรม IRF (initiation-response-follow-up) ในห้องเรียนมากที่สุด โดยในส่วน ของรูปแบบการใช้ภาษาและปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียนนั้น มีการใช้วัจนกรรมกลุ่มชี้นำมากที่สุด ตามด้วยวัจนกรรมกลุ่ม บอกกล่าวและวัจนกรรมกลุ่มผูกมัดตามลำดับ โดยไม่ปรากฏวัจนกรรมกลุ่มแถลงการณ์ ด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน พบ ว่าผู้สอนมีปฏิสัมพันธ์ด้านการตรวจสอบความเข้าใจและการตรวจสอบความถูกต้องกับผู้เรียนมากที่สุดตามลำดับ นอกจากนี้ผู้ สอนยังมีการใช้ภาษาจีนซึ่งเป็นภาษาแม่ในการอธิบายรูปแบบไวยากรณ์ ความหมายของคำและการมอบหมายงานแก่ผู้เรียนอีก ด้วย
งานวิจัยชิ้นนี้ช่วยให้ครูผู้สอนใช้ภาษาอังกฤษเพื่อสื่อสารในการออกแบบหลักสูตร และปรับเปลี่ยนวิธีการสอนได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งเป็นประโยชน์กับผู้เรียนจากการที่ได้ค้นพบจุดอ่อนของตนเองด้วยเช่นกัน ดังนั้นนักเรียนสามารถแก้ไขปัญหาตามวัตถุประสงค์ ได้ถูกจุด และชัดเจนมากยิ่งขึ้น
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว