การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเรื่อง งานเอกลักษณ์ไทยจากใบตอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา จังหวัดแพร่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแพร่ เขต 37
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผลการวิจัยพบว่า หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง งานเอกลักษณ์ไทยจากใบตอง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา จังหวัดแพร่ และแผนการจัดการเรียนรู้ มีความเหมาะสมมากที่สุด โดยแผนการจัดการเรียนรู้ มีค่า E1/E2 เท่ากับ 85.85/89.18 หลังการนำหลักสูตรไปใช้นักเรียนมีค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ สำหรับทัศนคติ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตรเห็นว่าเวลาในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรมีความเหมาะสมกับ โครงสร้างเวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เนื้อหามีความเหมาะสมและเป็นประโยชน์ ต่อการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันโดยภาพรวม หลักสูตรมีความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา
The Development of Local Curriculum on Thai Characteristics from Banana Leaves in Career and Technology Subjects, Mathayomsuksa 3, Buddhakosaiwittaya School, Phrae Province, Phrae Secondary Educational Service Area Office 37
The objectives of this research were to develop the local curriculum on Thai characteristics from banana leaves, to study student achievements by using the local curriculum on Thai characteristics from banana leaves and to study the attitudes of the people involved in the local curriculum on Thai characteristics from banana leaves for Mathayomsuksa 3 students. The sample were 22 Mathayomsuksa 3 students. The instrument consisted with the local curriculum on characteristics of Thai banana leaves, learning plan, achievement test and attitude of those involved. Data was analyzed by mean (), standard deviation (S.D.), percentage hypothesis testing with t-test and analysis of the content of group discussions.
The results found were that according to expert opinions the local curriculum on characteristics of Thai banana leaves in career and technology subjects, Mathayomsuksa 3, Buddhakosaiwittaya School, Phrae Province learning plan were most appropriate. The result of the learning plan was E1/E2 as 85.85/89.18. After using the local curriculum the students’ achievement test results were higher than before at the statistical significance level of .05. Concerning to the attitude of those involved with the development of the local curriculum their opinions were that the time to teach the curriculum was appropriate with the structure of class timetables based on the 2008 Basic Education Core Curriculum. Overall, the content was appropriate and beneficial to use in everyday life and the curriculum was appropriate with the context of the institution.
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว