การฆ่าตัวตายในประเทศญี่ปุ่น ในช่วงสถานการณ์โควิด-19
บทคัดย่อ
บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ทำให้การฆ่าตัวตายในประเทศญี่ปุ่นเพิ่มขึ้นในช่วงสถานการณ์ Covid-19 จากผลการศึกษา พบว่า มีสามปัจจัยสำคัญที่ทำให้มีจำนวนการฆ่าตัวตายเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ ปัจจัยแรกปัญหาเศรษฐกิจ จากการหดตัวของเศรษฐกิจญี่ปุ่นในไตรมาสที่สองหลังจากที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ปัจจัยที่สอง คือ ปัญหาการลอกเลียนแบบพฤติกรรมฆ่าตัวตาย (copycat suicide) ของผู้หญิงชาวญี่ปุ่นที่มีจำนวนมากขึ้น และปัจจัยสุดท้าย ปัญหาภาวะซึมเศร้าในเด็กวัยรุ่น หลังจากการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน บทความฉบับนี้ยังศึกษาวิธีการแก้ปัญหาของรัฐบาลญี่ปุ่นเพื่อตอบสนองต่อจำนวนการฆ่าตัวตายที่เพิ่มขึ้นของประชากรชาวญี่ปุ่น และส่วนสุดท้ายจะเป็นการเชื่อมโยงผลจากการศึกษาปัจจัยที่ทำให้การฆ่าตัวตายในประเทศญี่ปุ่นเพิ่มขึ้นในช่วงสถานการณ์ Covid-19 กับทฤษฎีจิตวิทยาและทฤษฎีสังคมวิทยา เพื่ออธิบายให้เห็นว่าทฤษฎีเหล่านั้นสามารถชี้ให้เห็นถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็นสิ่งเร้ากระตุ้นให้ผู้คนมีพฤติกรรม ความคิด และลงมือฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้นในประเทศญี่ปุ่น
คำสำคัญ : การฆ่าตัวตายของชาวญี่ปุ่น สถานการณ์โควิด-19
References
(ภาษาอังกฤษ)
Ayaka, H. et al. (2015). Suicide prevention strategies in Japan: A 15-year review (1998–2013). Journal of Public Health Policy.36,1: 52-66.
Daisuke, F. et al. (2016). Effectiveness of suicide prevention gatekeeper training for university administrative staff in Japan. Psychiatry and Clinical Neurosciences 70,1: 62-70.
Julia Engelmann. (2021). Total number of suicides committed in Japan from 2011 to 2020. ค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2021, from https://www.statista.com/statistics/622065/japan-suicide-number/.
Nippon.com. (2020). Suicides Increase in Japan Since July. ค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2021, จาก https://www.nippon.com/en/japan-data/h00864/.
Wang, S. Wright R. and Yoko W. (2020). In Japan, more people died from suicide last month than from Covid in all of 2020. And women have been impacted most. ค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2021, from https://cnn.it/3oPwgsr.
The Japan Times. (2020). School-age suicides in Japan hit record in 2020. ค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2021, from https://www.japantimes.co.jp/news/2021/02/16/national/social-issues/school-age-suicides-japan-hit-record-2020/.
(ภาษาไทย)
Parichat Chk. (2021). ความเหงาสร้างปัญหา ญี่ปุ่นตั้งรัฐมนตรีดูแลความเหงาหวัง
แก้ปัญหาคนเหงาหนักจนฆ่าตัวตาย. ค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2021, จาก https://brandinside.asia/japan-appoint- minister-of-loneliness-to- prevent-suicide-increasing.
___________. (2021). สิ้นหวัง ญี่ปุ่นฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้นครั้งแรกในรอบ 10 กว่าปี ปัญหาหลักมาจากโควิดระบาด. ค้นเมื่อ 11 มีนาคม 2021, จาก https://bit.ly/3jDbzNH.
PPTV Online. (2021). ไทม์ไลน์รับมือโควิด-19 ของญี่ปุ่นและสาเหตุที่สถานการณ์เลวร้ายลง. ค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2021, จาก https://bit.ly/3fuNeb9.
Shane Reustle. (2021). สถานการณ์โควิด-19 ประเทศญี่ปุ่น. ค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2021, จาก https://covid19japan.com/#all-prefectures.
The Momentum. (2020). เมื่ออัตราการฆ่าตัวตายของชาวญี่ปุ่นช่วงสิ้นปีพุ่งสูงสุดในรอบ 5 ปี. ค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2021, จาก https://themomentum.co/japan-suicides-rise-pandemic/.
World Health Organization. (n.d.) Suicide prevention. ค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2021, from https://www.who.int/health-topics/suicide#tab=tab_2.
ขนิษฐา แสนใจรักษ์. (2009). ในชั่ววูบของการฆ่าตัวตาย : การศึกษาเชิงปรากฏการณ์วิทยาในผู้ที่ผ่านประสบการณ์การพยายามฆ่าตัวตาย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
คนไทยในญี่ปุ่น. (2019). ทำไมคนญี่ปุ่นถึงฆ่าตัวตายบ่อย คุยกับคนญี่ปุ่น !! | [THAI IN JAPAN PODCAST EP.4 ]. ค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2021, จาก https://web.facebook.com/thaiandjapan/ videos/2401301 323466360/?_rdc=1&_rdr.
นันท์ชนก วงษ์สมุทร์. (2019). ฆ่าตัวตาย : ผู้เชี่ยวชาญห่วงพฤติกรรมเลียนแบบหลังสื่อเสนอข่าวนักศึกษาฆ่าตัวตายมากขึ้น. ค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2021, จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-47944055.
รตพร ปัทมเจริญ. (2009). “การฆ่าตัวตาย : ปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรม”. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 5,2: 7-24.
รูเพิร์ต วิงฟิลด์-เฮย์ส. (2021). โควิด-19 : ทำไมผู้หญิงญี่ปุ่นจำนวนมากถึงฆ่าตัวตายช่วงการระบาดใหญ่. ค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2021, จาก https://www.bbc.com/thai/international-56117450.
สุพัตรา สุขาวห และสุวรรณา อรุณพงค์ไพศาล. (2017). ปัจจัยเสี่ยงและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการฆ่าตัวตายในวัยรุ่น : การทบทวนวรรณกรรมเชิงลึก. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย 62,4: 359-378.
สำนักข่าวอินโฟเควสท์. (2020). ญี่ปุ่นปรับลดประมาณการ GDP ไตรมาส 2 ระบุหดตัว 28.1%. ค้นเมื่อ 8 มีนาคม 2021, จากhttps://www.infoquest.co.th/2020/34784.
________________ . (2020). ญี่ปุ่นอัดฉีดงบอีก 7 แสนล้านดอลล์ บรรเทาผลกระทบเศรษฐกิจจากพิษโควิด. ค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2021, จาก https://www.infoquest.co.th/2020/52108.
________________ . (2020). แบงก์ชาติญี่ปุ่นประชุมนโยบายการเงินวันแรก มุ่งประเมินผลกระทบศก.จากโควิด. ค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2021, จาก infoquest.co.th/2020/44547.
ไทยรัฐฉบับพิมพ์. (2020). สมาร์ทไลฟ์ : "contagion effect" พฤติกรรมทำตาม...อันน่าสะพรึงกลัว. ค้นเมื่อ 8 มีนาคม 2021, จาก https://www.thairath.co.th/lifestyle/life/1771396.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
Versions
- 2022-02-28 (3)
- 2022-02-28 (2)
- 2021-12-31 (1)
How to Cite
License
Copyright (c) 2021 วารสารเอเชียตะวันออกและอาเซียนศึกษา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทัศนะและข้อคิดเห็นจาก บทความในวารสารเป็นของผู้เขียน ไม่ถือเป็นความรับผิดชอบของคณะผู้จัดทำและศูนย์การเมือง สังคม และอาณาบริเวณศึกษา การนำบทความในวารสารไปตีพิมพ์ซ้ำต้องได้รับอนุญาตจาก กองบรรณาธิการ