This is an outdated version published on 2021-12-31. Read the most recent version.

A การศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุที่มีประสิทธิภาพ: กรณีศึกษาไทย-ญี่ปุ่น

A comparative study of factors affecting social welfare provision for the elderly: Case Study of Thailand-Japan

ผู้แต่ง

  • สิทธิพร ราชธานี -

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

          บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
และเปรียบเทียบปัจจัยด้านงบประมาณที่ส่งผลต่อการจัดสวัสดิการที่มีประสิทธิภาพระหว่างประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่น โดยจากการศึกษาพบว่า ตัวแบบการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุที่แตกต่างกัน เป็นผลมาจากความเพียงพอของงบประมาณที่จะถูกนำมาใช้ในการจัดสวัสดิการสังคม โดยเมื่อเปรียบเทียบกลไกการจัดหารายได้ผ่านโครงสร้างการจัดเก็บภาษี และระบบการคลังท้องถิ่น จะพบว่าอัตราการจัดเก็บภาษีที่แตกต่างกัน ส่งผลโดยตรงต่อรายได้ของแต่ละประเทศที่สามารจัดเก็บได้ รวมไปถึงความสามารถของหน่วยงานระดับพื้นที่ในการจัดหารายได้ด้วยตนเองเพื่อรองรับการจัดสวัสดิการสังคมในพื้นที่ยังขาดความเป็นอิสระในกระบวนการงบประมาณ สะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของกลไกการจัดหารายได้ ซึ่งในประเทศที่มีการจัดเก็บภาษีในอัตราที่สูงหรือเก็บในอัตราก้าวหน้า และเปิดโอกาสให้ท้องถิ่นมีอิสระในด้านงบประมาณ รายได้ที่จัดเก็บได้จะถูกจัดสรรมาเพื่อจัดสวัสดิการสังคมให้กับคนในประเทศอย่างครอบคลุม

 

 

คําสําคัญ: สวัสดิการผู้สูงอายุ, โครงสร้างการจัดเก็บภาษี, ระบบการคลังท้องถิ่น

References

(ภาษาอังกฤษ)

Japan External Trade Organization(JETRO). (2020). Corporate income taxes and tax rates. Retrieved March 22, 2021, from https://www.jetro.go.jp/en/invest/setting_up/section3/page3.html

Lopez, E. A. (2015). Elderly care in the U.S and healthcare economics; strategies to decrease costs and increase value in elder care. Retrieved February 9, 2021, from https://search.proquest.com/docview/1654999454?accountid=44787

Noriko Tsukada. (1997). Factors that affect implementation of the health and welfare plan for the elderly in japan: A variance model of policy implementation. Retrieved February 9, 2021, from https://search.

proquest.com/docview/304425443?accountid=44787

Schunk, M. V. (1997). A comparative study of care for the elderly in britain and germany. Retrieved February 9, 2021, from https://search.proquest.com/docview/1964752578?accountid=44787

Statista. (2018). Local government revenues in Japan in fiscal year 2018, by source. Retrieved March 21, 2021, from https://www.statista.com/statistics/631075/japan-local-government-revenues-source/Trading Economics. (2021). Sweden Tax Rate. Retrieved March 21, 2021 https://tradingeconomics.com/sweden/personal-income-tax-rate

(ภาษาไทย)

กฤษณ์ ภูรีพงศ์, สุพจน์ อินหว่าง และ กัญญามน อินหว่าง. (2558). แนวทางการพัฒนาการจัดการสวัสดิการของผู้สูงอายุในภาคเหนือตอนล่าง [สื่ออิเล็กทรอนิกส์]. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 1(2), 1-17.

กัญญาณัฐ ไฝคำ. (2557). การบริหารจัดการสวัสดิการผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารดุษฏีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ (ฉบับมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่4 ฉบับที่3.

ทัศนีย์ เหลืองเรืองรอง. (2563). ความรู้ทั่วไปกฎหมายภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร พ.ศ. 2563. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ : กรุงสยาม พับลิชชิ่ง

นารีรัตน์ จิตรมนตรี, สาวิตรี ทยานศิลป์. (2551). การทบทวนองค์ความรู้และแนวทางการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

บรรเจิด สิงคะเนติ และดารุณี พุ่มแก้ว.(2561). องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยในมิติปัญหาทางการคลัง. ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2564, จาก https://so05.tci-thaijo.org.

ปะการัง ชื่นจิตร. (2557). วัฒนธรรมในระบบภาษีของไทย. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2558). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2558. กรุงเทพฯ:บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

ระบบข้อมูลการใช้จ่ายภาครัฐ. (2564). ที่มารายได้รวมท้องถิ่น ในปี 2561. ค้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://govspending.data.go.th/dashboard/7

รพีพรรณ คำหอม. (2554). สวัสดิการสังคมกับสังคมไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ:บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำกัด.

รุ่งนภา สันติธรรมา. (2561). การภาษีอากร. กรุงเทพฯ : ทีพีเอ็น เพรส

วรเวศม์ สุวรรณระดา. (2559). การจัดสวัสดิการเพื่อการชราภาพของประเทศญี่ปุ่น. ค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://www.ditp.go.th/contents_attach/502424/5024204.pdf

วิเชียร อินทะสี. (2546). ระบบภาษีของญี่ปุ่น. วารสารญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 (2003) : 23-38

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ และสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอาย. (2555). การประมาณการงบประมาณสำหรับผู้สูงอายุ และแหล่งที่มาของเงิน. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

สิริลักษณ์ เที่ยงธรรม.(2559). แนวทางการบริหารสวัสดิการผู้สูงอายุในสังคมไทย. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจแลการเมือง ปีที่5 ฉบับที่2

สุพัฒน์จิตร ลาดบัวขาว. (2563). การคลังท้องถิ่น: สภาพปัญหา และแนวทางแก้ไข. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563): 189-214

สำนักงบประมาณของรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2558). การจัดเก็บรายได้ของรัฐบาลไทย ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2533 – 2557. ค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2564, จากhttps://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parbudget/ewt_dl_link.php?nid=210

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-31

Versions