การเคลื่อนไหวทางสังคมผ่านโซเชียลมีเดีย : ศึกษาผ่านเยาวชนปลดแอก
คำสำคัญ:
การเคลื่อนไหวทางสังคม, กลุ่มปลดแอก, โซเชียลมีเดียบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเคลื่อนไหวทางสังคมผ่านโซเชียลมีเดียของเยาวชนปลดแอก ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-ธันวาคม พ.ศ. 2563 โดยจะมองผ่านแนวคิดเรื่อง การเคลื่อนไหวทางสังคม (Social Movement) ชนชั้นนำ (Elite) และประชาธิปไตยและการทำให้เป็นประชาธิปไตย (Democracy and Democratization) เนื่องจากการเคลื่อนไหวของเยาวชนผ่านโซเชียลมีเดียเป็นผลมาจากชนชั้นนำที่มีการทำงานอย่างไม่โปร่งใส จึงทำให้เยาวชนปลดแอกมีการออกมาเคลื่อนไหวผ่านโซเชียลมีเดีย เช่น Twitter Facebook Instagram ฯลฯ ซึ่งการออกมาเคลื่อนไหวเป็นส่วนหนึ่งของการทำให้ประเทศเป็นประชาธิปไตยได้มากยิ่งขึ้น และยังส่งผลให้เกิดแรงขับเคลื่อนให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการเคลื่อนไหวทางสังคม จนนำไปสู่คณะประชาชนปลดแอกที่มีการพัฒนามาจากเยาวชนปลดแอก
References
ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์. 2564. เมื่อสื่อติดกับดักความเป็นกลางและความกลัว – เปิดปมสื่อไทย ทำไมจึงปิดปากตัวเอง?. สืบค้น 30 ตุลาคม 2564. สืบค้นจาก https://www.the101.world/media-self-censorship/?fbclid=IwAR3mw-yXwQxN5GaE7Tj04F6ag4mB11GnDtcmrdwMhyWWbZYnMd2QSBjLNvM
ราม โชติคุต. 2563. สรุปเนื้อหาเรื่องชนชั้นนำ (Elitism). สืบค้น 15 ตุลาคม 2564. สืบค้นจาก https://ramjoti.wordpress.com/2020/04/08/%E0%B8%AA
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). ม.ป.ป.. Social Movements. สืบค้น 15 ตุลาคม 2564. สืบค้นจาก https://www.sac.or.th/databases/anthropology-concepts/glossary/137
สุรศักดิ์ ศรีธรรมกุล. 2563. การเคลื่อนไหวทางสังคมในยุคดิจิทัล. วารสาร มหาจุฬานาครทรรศน์. 7(10). 90. สืบค้นจาก file:///C:/Users/User/Downloads/247520-Article%20Text-866222-1-10- 20201028.pdf
สุรัชนี ศรีใย. 2563. ‘ลงถนน’ ยังจำเป็นไหม ในยุคที่สังคมเคลื่อนไหวผ่านโซเชียลมีเดีย. สืบค้น 15 ตุลาคม 2564. สืบค้นจาก https://www.bu.ac.th/knowled gecenter/executive_journal/jan_ mar_12/pdf/aw015.pdf?fbclid=IwAR0ioMV4BR0yIEc-qTWQjdOGjDSOrP2 YLPVd8dwnvu
แสงชัย อภิชาติธนพัฒน์. ม.ป.ป.. เรื่อง “ประชาธิปไตย” หลักพื้นฐานสำหรับสามัญชน. สืบค้น 17 ตุลาคม 2564. สืบค้นจาก http://elibrary.constitutionalcourt.or.th/document/documents/documents/IS4D_590446.pdf
BBC NEWS. 2563. LGBT: "แดร็กควีน" กับ "ราษฏร" เสียงเรียกร้องเพื่อความเท่าเทียมของกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ. สืบค้น 30 ตุลาคม 2564. สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/thailand-54715657?fbclid=IwAR1DBPb_sBsMfU7Jt7rQyPAoLVsZgcN59lKW0gth_XzvpS6ZscyRREF
Craig M. Kauffman, n.d., democratization, Retrieved 15 October 2021, from https://www.britannica.com/topic/democratization
Paul M. Johnson, N.d., Elite (elitist) theory, Retrieved 15 October 2021, From http://webhome.auburn.edu/~johnspm/gloss/elite_theory.phtml
Uetani Naokatsu, n.d., Democratization, Retrieved 15 October 2021, from https://www.ide.go.jp/English/Research/Topics/Pol/Democratization/overview.html
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
License
Copyright (c) 2022 วารสารเอเชียตะวันออกและอาเซียนศึกษา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทัศนะและข้อคิดเห็นจาก บทความในวารสารเป็นของผู้เขียน ไม่ถือเป็นความรับผิดชอบของคณะผู้จัดทำและศูนย์การเมือง สังคม และอาณาบริเวณศึกษา การนำบทความในวารสารไปตีพิมพ์ซ้ำต้องได้รับอนุญาตจาก กองบรรณาธิการ