การเติบโตของอุตสาหกรรมการแปลงเพศในประเทศไทย: บทบาทผู้หลากหลายทางเพศ การขายบริการทางเพศ และสถานพยาบาลเพื่อการแปลงเพศ
คำสำคัญ:
การศัลยกรรมแปลงเพศ, อุตสาหกรรมการแปลงเพศ, กลุ่มผู้หลากหลายทางเพศ, สถานพยาบาลเพื่อการแปลงเพศ, ประเทศไทยบทคัดย่อ
บทความวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของกลุ่มผู้หลากหลายทางเพศและสถานพยาบาลเพื่อการแปลงเพศในไทยในการทำให้ประเทศไทยให้กลายเป็นประเทศปลายทางการศัลยกรรมแปลงเพศ โดยอาศัยข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากตัวแทนกลุ่มผู้หลากหลายทางเพศ สถานพยาบาลและบริษัทนำเที่ยว ผลการวิจัยพบว่า การเติบโตของอุตสาหกรรมแปลงเพศในไทยถูกขับเคลื่อนโดย 2 กลุ่มที่มีบทบาทหลักในอุตสาหกรรม คือ หนึ่ง กลุ่มผู้หลากหลายทางเพศและการขายบริการทางเพศ และสอง สถานพยาบาลเพื่อการแปลงเพศในไทย โดยบทบาทของสองกลุ่มนี้มีรากฐานและเริ่มต้นมาจากอุตสาหกรรมการค้าบริการทางเพศตั้งแต่อดีต กลุ่มผู้หลากหลายทางเพศเข้ามามาส่วนสำคัญในการเติบโตของอุตสาหกรรมนี้จากความต้องการในการแปลงเพศ อันเป็นผลจากการที่คนกลุ่มนี้จำนวนหนึ่งเข้าสู่อาชีพการค้าบริการทางเพศที่เฟื่องฟูและการเติบโตของการแสดงคาบาเร่ต์ ซึ่งนักแสดงต้องมีรูปร่างและหน้าตาเหมือนผู้หญิงอันนำมาซึ่งการศัลยกรรมใบหน้าและแปลงเพศ ปัจจัยด้านอุปสงค์ดังกล่าวส่งผลให้เกิดการเปิดสถานพยาบาลในไทยเพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มผู้หลากหลายทางเพศที่ต้องการเข้ารับผ่าตัดแปลงเพศ วิกฤตเศรษฐกิจฟองสบู่ในช่วง พ.ศ. 2540 ที่ประเทศไทยส่งเสริมการท่องเที่ยวทำให้สถานพยาบาลขยายเน้นกลุ่มเป้าหมายลูกค้าต่างชาติมากขึ้น ผลจากปัจจัยด้านอุปสงค์และอุปทานดังกล่าวนำมาซึ่งการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมแปลงเพศในประเทศไทยในที่สุด
References
กรุงเทพธุรกิจ. (2565, 3 พฤศจิกายน). โควิดคลี่คลาย “ตลาดความงาม” ฟื้น คาดต้นปี 66 แนวโน้มดีขึ้น.
https://www.bangkokbiznews.com/health/well-being/1035650
ฉัตรทริกา นภาธนาพงศ์ และ รัศมีจันทร์ เสาวคนธ์. (2565, 16 มิถุนายน). กฎหมายตีตรา ตีค่า ‘Sex
Worker’. TDRI (Thailand Development Research Institute).
https://tdri.or.th/2022/06/time-to-rethink-prostitution-act/
ทีมข่าวคุณภาพชีวิต. (2564, 5 กรกฎาคม). Pride Clinic เจาะตลาด LGBTQ+ ศักยภาพสูง. กรุงเทพธุรกิจ.
https://www.bangkokbiznews.com/social/947009
ทัยเลิศ ลือปือ. (ม.ป.ป.). ธุรกิจการค้าประเวณีในประเทศไทย. SPU (Sripatum University).
http://dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/1549/6/chap2.pdf
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2016). Tourism Economic. รายงานภาวะเศรษฐกิจ
ท่องเที่ยว. 16(3), 32. https://www.mots.go.th/download/article/article_20160526155420.pdf
ณิณาสินีย์ เมืองวงษ์. (2559). บทบาทของภาครัฐในการพัฒนาอุตสาหกรรมศัลยกรรมความงาม.
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 10(21): 56-69. 58-60.
Aizura, A. Z. (2010). Feminine transformations. Gender reassignment surgical tourism in
Thailand. Medical Anthropology, 29(4), 424-443.
Barme, S. (1993). Luang Wichit Wathakan and the Creation of a Thai Identity. E-Journal of
Southeast Asian Studies. 53(3). 985-986. http://doi.org/10.2307/2059798
Bundhun, R. (2010, November 25). Thailand Right Medicine for Tourists. The National (United
Arab Emirates).
https://www.thenationalnews.com/business/travel-and-tourism/thailand-right-
medicine-for-tourists-1.533994
Busakorn Suriyasarn. (2014). อัตลักษณ์และวิถีทางเพศในประเทศไทย. องค์การแรงงานระหว่างประเทศ:
Catellya, C. (2019, October 19). Your ultimate guide to Sex Reassignment Surgery in Thailand
(male to female. The Thaiger.
Enteen, J. B. (2013). Transitioning Online: Cosmetic Surgery Tourism in Thailand. Television
and New Media 15(3): 238-249. https://doi.org/10.1177/1527476413509673
Gale, J. (2015, October 27). How Thailand Become a Global Gender-Change Destination.
Hauser, S. (n.d.). Transsexuality in Northern Thailand-historical notes. Sjon Hauser de
Thailandspecialist RSS. http://www.sjonhauser.nl/transsexuality-in-northern-thailand-historical-notes.html
HFocus. (2013, Octpber 13). หมอไทย (ไม่) ขายฝัน ไทยแลนด์สู่ศูนย์กลางศัลยกรร. HFocus เจาะลึก
ระบบสุขภาพ. https://www.hfocus.org/content/2013/10/5219
Jackson, P.A. (1997). Thai research on male homosexuality and transgenderism and the
cultural limits of Foucaultian analysis”. Journal of the History of Sexuality. 8 (1), 52-85.
Jackson, P.A. (1999). Gender and Sexualities in modern Thailand. (2nd nd.). Silkworm Books.
Kittikanya, C. (2007). Foreigners still flock to Thai hospitals, attracted by highly skilled doctors
and lower bills. Bangkok Post Economic Year in Review.
Lverson, K. (2017, April 27). A Brief History of Thailand’s Transgender Community. The
Culture Trip.
Mosse, G L. (2020). Nationalism and Sexuality: Middle-Class Morality and Sexual Norms in
Modern Europe. The University of Madison Press. https://doi.org/10.2307/j.ctv15pjz4h
Ocha, W. (2012). Transsexual emergence: gender variant identities in Thailand. Culture Health
& Sexualitye, 14(5): 563-75. https://doi.org/10.1080/13691058.2012.672653
Poonsuk, N. (2020, September 2). แนวโน้มธุรกิจ อุตสาหกรรม ปี 2563-65: ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน.
วิจัยกรุงศรี.
https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/services/Private-Hospitals/IO
PPTV Online, (2023, March 2). ปี 2023 ตลาดการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ไทย เติบโตต่อเนื่องมากกว่าก่อน โควิด.
https://www.pptvhd36.com/news/เศรษฐกิจ/191658
Prashanth, K., & Gupta, V. (2005). Bumrungrad’s Global Services Marketing Strategy. Services
Marketing in Asia–A Case Book, Prentice-Hall. 433-48.
Rawikul, P., & Lutthipongpun, V. (2019). Clients’ Information Seeking Processesfor the Gender Reassignment Health Service Industry in Thailand [Doctoral dissertation]. The National Institute of Development Administration. Thaijo.
https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jca/article/view/246051/166536
Rungsun, T. (n.d.). การถอนทัพอเมริกันกับเศรษฐกิจไทย. สรรนิพนธ์รังสรรค์ ธนะพร
พันธุ์.
http://www.rangsun.econ.tu.ac.th/data/05/05-04-01-.pdf
Sunanta, S. (2021). Globalising the Thai ‘High-Touch’ Industry: Exports of Care and Body Work
and Gendered Mobilities to and from Thailand. Journal of Ethnic and Migration Studies 46, 1543-61. https://doi.org/10.1080/1369183X.2020.1711568.
Supakankunti, S., & Herberholz, C. (2015). Transforming the ASEAN Economic Community into
a global services hub: Enhancing the competitiveness of the health services sectors in Thailand. ResearchGate. 147-171. http://doi.org/10.15341/jbe(2155-7950)/06.06.2015/009
ThaiPublica. (2022, 25 January). LGBT+ เปิดกว้างสู่สังคมที่เท่าเทียม พึ่งพาแต่ไม่พึ่งพิง.
https://thaipublica.org/2022/01/future-thailand-thuttai-keeratipongpaiboon/
Thinsiam. (2016, June 19). แปลงเพศ เปลี่ยนกายให้ตรงใจ แพทย์ไทยไม่แพ้ชาติใดในโลก. Thinsiam.
http://www.thinsiam.com/archives/35073
UNDP, USAID (2014). Being LGBT in Asia: Thailand Country Report. Bangkok. UNDP Thailand:
Wariya, P and Kassara, S. (2019). The Development of Medical Tourism in Thailand [Doctoral
dissertation]. Thaijo.
file:///C:/Downloads/tci_admin,+Journal+manager,+2-12-24.pdf
Wilson, A. (2004), The Intimate Economies of Bangkok: Tomboys, Tycoons, and Avon Ladies
in the Global City, Berkeley, University of California Press, 272.
Wilson, A. (2011). Foreign Bodies and National Scales: Medical Tourism in Thailand. Journal
of Sagepub, 17(2-3): 121-137.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
License
Copyright (c) 2023 วารสารเอเชียตะวันออกและอาเซียนศึกษา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทัศนะและข้อคิดเห็นจาก บทความในวารสารเป็นของผู้เขียน ไม่ถือเป็นความรับผิดชอบของคณะผู้จัดทำและศูนย์การเมือง สังคม และอาณาบริเวณศึกษา การนำบทความในวารสารไปตีพิมพ์ซ้ำต้องได้รับอนุญาตจาก กองบรรณาธิการ