บทวิพากษ์ความเป็นอีสานใหม่ : ทดลองศึกษาผ่านบทเพลงไทยอีสาน
คำสำคัญ:
อีสานเก่า, อีสานใหม่, วัฒนธรรม, การเมือง, ดนตรีบทคัดย่อ
บทความชิ้นนี้ มีจุดมุ่งหมายที่จะทำความเข้าใจและพิสูจน์แนวความคิดที่ว่าด้วยการเป็นอีสานใหม่ ผู้เขียนได้ทำการทดลองศึกษาผ่านเพลงในฐานะที่เป็นตัวบททางสังคมอย่างหนึ่ง โดยใช้การตีความเป็นเครื่องมือในการทำความเข้าใจและแสวงหาความรู้ และผลจากการศึกษาพบว่า การร้อง รำ ทำเพลง ของชาวบ้านในภาคอีสานนับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนอกจากจะใช้เพื่อความบันเทิงแล้วนั้น วัฒนธรรมการร้อง รำ ทำเพลงยังคงมีนัยยะสำคัญที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ในเชิงอำนาจทางด้านการเมืองที่ส่งผลต่อคนในสังคมมาอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าภายหลังการเกิดสงครามเย็น สังคมอีสานจะมีการรับเทคโนโลยีต่าง ๆ เข้ามามากมาย แต่จากการพิจารณาตัวบทที่นำมาทำการทดลองศึกษาได้แสดงให้เห็นว่าแนวความคิดความเชื่อของชาวบ้านในภาคอีสานยังคงยึดโยงอยู่กับอำนาจหรือขนบแบบเดิม การเกิดสภาวะแบบโลกไร้พรมแดนหาได้เปลี่ยนแปลงรากฐานทางความคิดความเชื่อของชาวบ้านในภาคได้อย่างสิ้นเชิง ตรงกันข้ามกลับสนับสนุนให้คติความเชื่อแบบดั้งเดิมสามารถดำรงอยู่และมีความเข้มแข็งยิ่งขึ้นกว่าเดิม
References
คำพูน บุญทวี. (2542). ลูกอีสาน ฉบับนักเรียน. นนทบุรี: สำนักพิมพ์ โป๊ยเซียน.
จินตหรา พูนลาภ. (2560). เต่างอย. JINTARA CHANNEL OFFICIAL. ค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2566,
จาก https://www.youtube.com/watch?v=oppMTue4gRE
ตรี อภิรุม. (2559). นาคี. ไทยรัฐ. ค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2566,
จาก https://www.thairath.co.th/novel/Nakee/synopsis
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (มทป.). รัฐสมัยใหม่. สถาบันพระปกเกล้า. ค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2566,
จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=รัฐสมัยใหม่
บีเอ็นเค48. (2564). โดดดิด่ง Ost. ไทบ้าน x BNK48 จากใจผู้สาวคนนี้. BNK48. สืบค้น 15 พฤษภาคม
, จาก https://www.facebook.com/bnk48official/posts/โดดดิด่ง-หนึ่งในผลงานที่เรา
ภาคภูมิใจ-ที่เกิดขึ้นมาจากความเจ๋งของวัฒนธรรมอีสาน-แล/446314536853198
ประชาไท. (2558). เปิดตัว 'อีสานใหม่' อีสานที่จะไม่สยบยอม. ค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2566,
จาก https://prachatai.com/journal/2015/03/58493
ปวีณา วังมี. (2543). รัฐไทยกับการกล่อมเกลาทางการเมืองผ่านแบบเรียนในช่วง พ.ศ. 2475 – 2487.
วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
พญาลิไท ถอดความโดยกรมศิลปากร. ( 2555). ไตรภูมิกถา. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 (ฉบับที่ 3)
พ.ศ.2553 มาตรา 27
พัฒนา กิติอาษา. (2557). สู่วิถีอีสานใหม่. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิภาษา.
เพิ่มศักดิ์ จะเรียมพันธ์. (2561). จักรวาลวิทยาแบบไทยใน“บุพเพสันนิวาส”และตำแหน่งแห่งที่ของ”
บุพเพสันนิวาส”ในการเมืองไทย. ค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2566
จาก https://www.matichon.co.th/social/news_885411
ไมค์ ภิรมย์พร. (2560). บุญผลา. GRAMMY GOLD OFFICIAL. ค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2566,
จาก https://www.youtube.com/watch?v=Tp2FRiGESLs
ยศ สันตสมบัติ. (2556). มนุษย์กับวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ลำไย ไหทองคำ. (2559). ผู้สาวขาเลาะ. ไหทองคํา เรคคอร์ด. ค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2566,
จาก https://www.youtube.com/watch?v=xir5VPhlJ_M
วีรชน เกษสกุล. (2560). หมอลำ: ภาพสะท้อนทางคติ ความเชื่อ และการเมือง. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร
มหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศิลป์ชัย เชาว์เจริญรัตน์. 2558. ศาสนาผี. ค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2566,
จาก http://sinchaichao.blogspot.com/2015/06/blog-post_4.html
สาทร ศรีเกตุ. (2557). พัฒนาการความสัมพันธ์เชิงอำนาจทางเศรษฐกิจและการเมืองในวัฒนธรรมเพลง
ไทยสากล. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรชาติ บำรุงสุข. (2559). สยามในกระแสสากล! จากบางกอกสู่เจนีวา. มติชนสุดสัปดาห์. ค้นเมื่อ 9
พฤษภาคม 2566, จาก https://www.matichonweekly.com/column/article_3361
สุวนันท์ ตระกูล. (มปท). ตำนานพญาเต่างอย. Museum Thailand. ค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2566,
จาก https://www.museumthailand.com/th/home
แสงดาว พิมมะศรี. (2562). นางฟ้าสารภัญ. PTmusic. ค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2566,
จาก https://www.youtube.com/watch?v=syrPa7LGB9c
หงสา ประภาพร. (2562). คารถแห่..แววับ!!. M.STAR Records. ค้นเมื่อ1 พฤษภาคม 2566,
จาก https://www.youtube.com/watch?v=r_NNRGFDmnQ
อานันท์ นาคคง. (2553). เส้นทางสายมนุษวิทยาดนตรีในประเทศไทย. (บทความจากผู้คนดนตรีชีวิต).
กรุงเทพ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิริธร (องค์การมหาชน)
อาม ชุติมา. (2562). อาม ชุติมา สาวน้อยนักแต่งเพลง บทสัมภาษณ์จากรายการ "บางกอก Cityเลขที่
". PPTV. ค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.pptvhd36.com/programs/รายการ
วาไรตี้/บางกอก-City-เลขที่36/73700#part-1
อุกฤษฏ์ เฉลิมแสน. (2557). เลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 1) การเปลี่ยนแปลงของอีสาน.
ค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2562, จาก https://www.academia.edu/9568263/
เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2561). “อีสานใหม่” กับการปฏิวัติสู่ความเป็นเมือง. ค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2566,
จาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/643791
Plato. (1993). Republic A new translation by Robin Waterfield. Oxford University Press.
Thai PBS ศูนย์ข่าวภาคอีสาน. (2562). ตลาดเพลงลูกทุ่งหมอลำเติบโตในยุคสื่อสังคมออนไลน์. ค้นเมื่อ 1
พฤษาคม 2566, จาก https://web.facebook.com/ThaiPBSEsan/videos/566208493910100? v=566208493910100
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
License
Copyright (c) 2023 วารสารเอเชียตะวันออกและอาเซียนศึกษา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ตีพิมพ์ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทัศนะและข้อคิดเห็นจาก บทความในวารสารเป็นของผู้เขียน ไม่ถือเป็นความรับผิดชอบของคณะผู้จัดทำและศูนย์การเมือง สังคม และอาณาบริเวณศึกษา การนำบทความในวารสารไปตีพิมพ์ซ้ำต้องได้รับอนุญาตจาก กองบรรณาธิการ