วาทกรรม: การสร้างความได้เปรียบทางการเมือง

ผู้แต่ง

  • กิตตินันท์ วงษ์สุวรรณ Ramkhamhaeng University

คำสำคัญ:

วาทกรรมทางการเมือง, การสร้างวาทกรรมทางการเมือง, ความได้เปรียบทางการเมือง

บทคัดย่อ

บทความนี้ พยายามชี้ให้เห็นว่า วาทกรรมทางการเมือง มีบทบาทสำคัญต่อการสร้างจิตสำนึกสาธารณะ และสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการดึงดูดสื่อกระแสหลัก กระแสรอง รวมทั้งชักชวนมวลชน ให้ร่วมในอุดมการณ์ของผู้สร้างทั้งที่เป็นบุคคลหรือพรรคการเมือง หรือแม้กระทั่งในนามองค์การที่เกี่ยวข้องกับการเมือง วาทกรรมทางการเมืองที่นำเสนอแต่ละวาทะ หากมีความหมายเชิงสัญลักษณ์ เชิงสร้างสรรค์ หรือเชิงรณรงค์เพื่อสร้างกระแสในทิศทางใดก็ตาม วาทกรรมทางการเมืองสามารถครอบงำ ให้เลือกปฏิบัติ เกิดการเลือกฝ่ายเลือกข้าง ฯลฯ ดังนั้น การสร้างวาทกรรมทางการเมืองให้มีอิทธิพลตามกรอบของภาษาศาสตร์สมัยใหม่ และเน้นย้ำคุณลักษณะแนวคิดวาทกรรมทางการเมือง สำหรับใช้เป็นแนวทางการสร้างการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ และประสิทธิผลของวาทกรรมที่เกิดจากวาทะที่นำมาใช้สร้างความได้เปรียบทางการเมือง

References

เกษมวัชรดิตถ์ รอดจากทุกข์, เอกกวิน ปิยวีโร (อะซิ่ม) และ อธิษฐ์ สุวฑฺโฒ (สุขพานิช). (2565). การสื่อสารทางการเมืองกับวาทกรรมทางการเมืองในสังคมไทย. วารสารรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 2,5 (กันยายน-ตุลาคม 2565).

ทองย้อย แสงสินชัย. (2557). บาลีวันละคำ. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น.

นันทนา นันทวโรภาส. (2563). สื่อสารการเมือง: ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้. พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ลงทุนศาสตร์. (2020). เปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้า สุดยอดนโยบายเศรษฐกิจไทยที่หลายคนหลงลืม. ค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2566 จาก https://www.investerest.co/economy /battlefield-to-trade-field/

ลิขิต ธีรเวคิน. (2546). ประชาธิปไตยและการปฏิรูปการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: แม็ค.

วรเทพ ว่องสรรพการ. (2561). วาทกรรมความเป็นไทยกับการควบคุมทางสังคม. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 40,1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561).

สมชาย ศรีสันต์. (2561). ว่าด้วยการวิเคราะห์วาทกรรมวิพากษ์ บทวิเคราะห์วาทกรรมการพัฒนา/หลังการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สมมติ.

Baranov, A. N. (1991). Parliamentary Debates: Traditions and Innovations. Znanie.

Foucault, M. (2000). The Political Technology of Individuals. In P. Rabinow (Ed.), Michael Foucault Power Essential Works of Foucault 1954-1984 (p. 403-417). New York: The New Press.

Grant, D., Keenoy, T. W. & Oswick, C. (1998). Organizational Discourse: of Diversity, Dichotomy and Multi-Disciplinary. In Discourse and Organization (pp. 1–14). London: Sage.

Wetherell, M. (2001). Debates in Discourse Research. In M. Wetherell, S. Taylor, S. J. Yates, and Open University (Eds.), Discourse Theory and Practice: A Reader (pp. 380–89). London: Sage.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-27