Theoretical Conceptual Framework of People Behaviors
Main Article Content
บทคัดย่อ
พฤติกรรมทางการเมือง เป็นการแสดงออกทางการเมืองเกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางการเมืองซึ่งจะมีผลก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เป็นการแสดงออกที่ต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับการจัดสรรแบ่งปันสิ่งที่มีคุณค่าเพื่อสังคม โดยกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีพฤติกรรมทางการเมือง จำแนกออกเป็น 3 องค์ประกอบ ดังนี้ (1) การสังเกตการณ์ทางการเมือง เช่น การติดตามข่าวสารทางการเมืองจากสื่อมวลชน เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ การติดตามนโยบายของพรรคการเมือง ระดับชาติและระดับท้องถิ่น การติดตามผลการดำเนินการของรัฐบาลผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น โครงการรถไฟฟ้า หรือ แก้ไขปัญหาราคาสินค้าแพง ฯลฯ การติดตามข่าวสารพฤติกรรมของนักการเมือง เช่น มีการทุจริตคอร์รัปชัน การสนทนาหรือแสดงความคิดเห็นทางการเมืองกับบุคคลในครอบครัว เพื่อน หรือ บุคคลอื่น (2) การมีส่วนร่วมทางการเมือง เช่น การให้ความสำคัญเกี่ยวกับการเลือกตั้งทางการเมือง การไปใช้สิทธิ์ในการเลือกตั้ง การชักชวนบุคคลอื่นไปใช้สิทธิในการเลือกตั้งทั้งระดับท้องถิ่นและระดับชาติ การเข้าร่วมฟังการปราศรัยของผู้สมัคร รับเลือกตั้งทั้งระดับท้องถิ่นและระดับชาติ การเผยแพร่ข่าวสารข้อมูลเพื่อกระตุ้นให้ผู้อื่นไปใช้สิทธิ์ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งทั้งระดับท้องถิ่นและระดับชาติ และ (3) การเข้าเป็นหุ้นส่วนทางการเมือง เช่น การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายหรือแนวทางในการพัฒนาประเทศ กับ นักการเมือง การยื่นข้อเรียกร้องความต้องการในการแก้ปัญหาต่างๆ/กับนักการเมือง การร่วมประชุมทางการเมืองของพรรคการเมืองและ กลุ่มทางการเมือง การร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือการดำเนินงานของนักการเมืองในระดับท้องถิ่น หรือระดับชาติในการดำเนินตามนโยบายของรัฐบาล เช่น โครงการกองทุนหมู่บ้าน ฯลฯ การชุมนุมประท้วงเพื่อเรียกร้องความต้องการบางสิ่งบางอย่างผ่านนักการเมือง
Article Details
References
ชุดา จิตพิทักษ์. (2525). พฤติกรรมศาสตร์เบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สารมวลชน.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2524). พฤติกรรมศาสตร์เล่ม 2 จิตวิทยาจริยธรรมและจิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
ณรงค์ สินสวัสดิ์.(2539). ภาค 1 ซึ่งกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์ในจิตวิทยาการเมือง. กรุงเทพฯ : วัชรินทร์การพิมพ์.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2551). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักท์
พงษ์สวัสดิ์ อักษรสวาสดิ์. (2550). สิทธิการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมในการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ภัทรพล ทศมาศและคณะ. (2560) การเขียนบทความวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อการตีพิมพ์. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 4 (1) 1- 14.
ภิรดี ลี้ภากรณ์. (2554). ปัจจัยที่¬มีผลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการสิ่งแวดล้อมในเขตควบคุมมลพิษ ศึกษาเฉพาะกรณีชุมชนมาบชลูด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง. ภาคนิพนธ์ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (การจัดการสิ่-งแวดล้อม). กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ภูสิทธ์ ขันติกุล . (2553). รูปแบบการมีส่วนร่วมทางการเมืองและปัจจัยที่ทรงอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน เขตดุสิต กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา สถาบันวิจัยและพัฒนา.
ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ, 2534. การวิเคราะห์ผู้รับสาร, กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รังสิวุฒิ ชานาทงาม. (2554). การมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาล ตำบลโนนเจริญ อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์. สารนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
วิฑูรย์ ภูนุช. (2548). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยรามคำแหง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วิยะฉัตร พึ่งเกียรติรัสมี. (2547). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของคณะกรรมการพัฒนาสตรีหมู่บ้าน (กพสม.) ในจังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์เพื่อพัฒนาชุมชน. ปัตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
วิสุทธิ์ โพธิแท่น. (2534). ประชาธิปไตย แนวความคิดและตัวแบบประชาธิปไตยในอุดมคติ, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สัญญา เคณาภูมิ. 2559. “การตัดสินใจทางการเมืองแบบวิถีประชาธิปไตย: แนวคิดและรูปแบบลักษณะ”มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 33 (2): 89 - 119
สมนึก ภัททิยธนี. (2552). พื้นฐานการวิจัยการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กาฬสินธุ์:ประสานการพิมพ์.
สารานุกรมเสรี, ประชาธิปไตย (2560). สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2561, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/
สารานุกรมเสรี, ดุสิตธานี (2560). สืบค้นเมื่อ 9 มกราคม 2561,จาก https://th.wikipedia.org/
สุภางค์ จันทวานิช. (2554). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Kenaphoom, Sanya. (2013). “The Creating of the Survey Research Conceptual Framework on Public
Administration”ValayaAlongkorn Review Vol. 3 No. 2 (July-December) :169-185.
Kenaphoom, Sanya. (2014A). “Research Philosophy: Quantity Quality” Journal of Political Science andLaw, RajabhatKalasin University, 3 (2),49-51.
Kenaphoom, Sanya. (2014B). “Establish the Research Conceptual Framework in Public Administration by the Rational Conceptual thinking”. PhetchabunRajabhat Journal, 16 (1) : 1-19.
Kenaphoom, Sanya. (2014C). “A Creation of a Research Conceptual Framework for Public Administration by Knowledge Management Methodology” Journal of Humanities and Social Sciences, UbonRatchathani University, 5 (2),13-32.
References
Boontham kitpridaborisut. (2008). Social science research methods. (10rd edition). Bangkok: Chamchuri Product.
Charanyanya Banterng. (2005).Participation in countryside Development. Bangkok: O.A. Printing.
Chuda Chitpitak. (1982). Introduction to Behavioral science. (2nd Edition) Bangkok: mass media.
Duangduen Bhanthumnavin. (1981). Behavioral Science, Volume 2, Moral and Psychoanalytic Psychology, Bangkok: Thai Wattanapanich Printing.
Free Encyclopedia (2017). Democracy. Retrieved on 8 January 2018, from https://th.wikipedia.org/wiki/.
Free Encyclopedia. (2017). Dusit Thani. Retrieved on 9 January 2018, from https://th.wikipedia.org/wiki/.
Kenaphoom Sanya. (2016). Democracy-based political decisions: concepts and styles, Humanities, social sciences Khon Kaen University, 33 (2): 89 – 119.
Narong Sinsawat. (1996). Part 1 Determining human behavior in political psychology. Bangkok: Watcharin Printing.
Phongsawat Aksornsawat. (2007). Participation rights of traditional local communities in the conservation and management of natural resources. Master's thesis: Thammasat University.
Phattharaphon Tosamas Et.al. (2017) Writing academic articles in public administration for publication. Journal of Research and Development Institute Rajabhat Maha Sarakham University, 4 (1) 1- 14.
Piradee Liphakorn. (2011). Factors affecting community participation in environmental management in pollution control areas A case study of Mapchalod community, Mueang district, Rayong province. Master of Science (Environmental management). Bangkok: National Institute of Development Administration.
Phusit Khantikun. (2010). Political participation patterns and factors influencing political participation of people in Dusit District, Bangkok: Suan Sunandha Rajabhat University Research and Development Institute.
Rangsiwut Chaichanatham. (2011). Local political participation of people in Non Charoen Municipality, Ban Kruat District, Buriram province. Master of Public Administration, Buriram: Buriram Rajabhat University.
Somnuk Phattiyathani. (2009). Educational research fundamentals. 5th edition, Kalasin: Prasan Printing.
Supang Chantawanich. (2011). Qualitative research methods. Bangkok: Chulalongkorn University.
Viyachat Pungkiartrasmi. (2004). Political participation of the Village Woman Development Committee In Pattani Province. Education thesis for community development. Pattani: Prince of Songkla University.
Witoon Phunuch. (2005). Political participation of personnel within Ramkhamhaeng University. Master of Arts Thesis, Bangkok: Ramkhamhaeng University.
Wisut Photaen. (1991). Democracy, the concept and the ideal democratic model. Bangkok: Thammasat University.
Yubon Benchararakit. (1991). Audience Analysis, Bangkok: Chulalongkorn University.