สภาวะของความทุกข์(ศิลปะบำบัด)

Main Article Content

สุนันทา - ผาสมวงค์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


วิจัยสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์เรื่อง The state of Suffering (Mental Therapy) มีความมุ่งหมายเพื่อสะท้อนเนื้อหาให้สอดคล้องกับ หัวข้อสุดสะพรั่ง พลังอาร์ต ภายใต้โครงการ เทศการศิลปนานาชาติ Bangkok art biennale 2018 ในมุมมองของผู้สร้างสรรค์ “ศิลปะ คือการบำบัดจิตใจ” ซึ่งมีที่มาจาก (The state of Suffering) เป็นผลงานสะท้อนทัศนคติของผู้สร้างสรรค์ที่มีต่อประสบการณ์อันเลวร้ายเมื่อครั้งอดีต การพลัดพรากจากบุคคลอันเป็นที่รักยิ่งในชีวิต เป็นเวลาอันยาวนาน ถ่ายถอดอารมณ์ผ่านทัศนธาตุ เส้น ที่มีลักษณะหมุนวน ทับซ้อน ราวกับเป็นสายใยผูกมัด ยึดเหนี่ยว ดึงรั้งความรู้สึกให้ตรึงไว้ ก่อเกิดรูปทรงคล้ายอวัยวะมนุษย์ ที่ราวกับจะแข็งแรงแต่ก็เปราะบาง ผันแปรตามห้วงของอารมณ์ความรู้สึก สิ่งเหล่านี้ผู้สร้างสรรค์เรียกว่า “ความทุกข์” แต่ทุกครั้งที่ผู้สร้างสรรค์ได้ทำมันผู้สร้างสรรค์รู้สึกถึงความสุขผ่อนคลาย ดังนั้น ศิลปะสำหรับผู้สร้างสรรค์มันคือพลังที่บำบัดจิตใจ เปลี่ยนซึ่งความรู้สึกทุกข์ให้กลายเป็นความสุขด้วยศิลปะบำบัด


นิยามศัพท์เฉพาะ : ศิลปะบำบัด , ความทุกข์, เส้น , กึ่งนามธรรม, พื้นที่ว่าง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

บรรณานุกรม

กิตติกร มีทรัพย์. พื้นฐานทฤษฏีจิตวิเคาะห์. กรุงเทพฯ: สำหนักพิมพ์หญิงสาว
ชลูด นิ่มเสมอ. องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, 2539.
แดง บัวแสน. (2546). ภาวะของจิตใต้สำนึก. ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชา
จิตรกรรม ภาควิชาจิตรกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.
บ้านและสวน. (2561). สุนันทา ผาสมวงค์. สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2562, จาก
https://www.baanlaesuan.com
ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา. (2550). ศิลปะบำบัด ศาสตร์และศิลป์แห่งการบำบัด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา
ลาดพร้าว.
วิโชค มุกดามณี. สื่อประสมและศิลปะการจัดวางในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: (มปพ), 2554.
สมพร รอดบุญ. (2551). ศิลปะรูปแบบอินสตอลเลชั่นอาร์ต Installation art. บทความแสดง
ศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 54. หน้า 112-115.
อัฐพร นิมมาลัยแก้ว. (2548). สาระแห่งการเปลี่ยนแปลงของชีวิต. ปริญญานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตรกรรม ภาควิชาจิตรกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.
อิ่มหทัย สุวัฒนศิลป์. (2551). เส้นผม: สายใยรักครอบครัว. ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
สาขาวิชาจิตรกรรม ภาควิชาจิตรกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ANTANY GOLMEY. (2561). ANTANY GOLMEY. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2561, จาก
https://www.antonygormley.com/
Bangkok Art Biennale 2018. (2562). SUNANTA PHASOMWONG. สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2562, จาก https://www.bkkartbiennale.com/profile/sunanta-phasomwong/
Bangkok Art Biennale 2018. (2561). The State of Suffering -Sunanta phasomwong. สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน 2561,https://www.youtube.com/watch?v=W4L3PWXLQHM
ELLE DECORATION. (2561). Female Thai Artists @BACC-SUNANTA PHASOMWONG.
สืบค้นเมื่อ 11 พฤศจิกายน 2561, จากhttps://www.elledecorationthailand.com/Style/female-thai-artists-bacc/
RUTH ASAWA. (2561). RUTH ASAWA. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2561, จาก https://www.ruthasawa.com/