การจัดการความรู้ความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรม ของจังหวัดเพชรบูรณ์

Main Article Content

สำราญ ท้าวเงน

บทคัดย่อ

การวิจัยน้ีเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาความหลากหลาย ทางภาษาและวฒันธรรมของกลมุ่ชนตา่ง ๆ ทมี่าตงั้ถนิ่ฐานอยใู่นจงัหวดัเพชรบรูณเ์พอื่การจดัการ ความรู้ความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมกลุ่มชนต่าง ๆ ที่มาตั้งถิ่นฐานอยู่ในจังหวัด เพชรบรูณ์ และเพอื่การอนรุกัษแ์ละสบืสานความหลากหลายทางภาษาและวฒันธรรมตลอดจน อตัลกัษณข์องกลมุ่ชนตา่ง ๆ ในจงัหวดัเพชรบรูณป์ระชากรทใี่ชใ้นการศกึษา ไดแ้ก่ ชาวพนื้เมอืง ชายไทยหล่ม ชาวเขาเผ่าม้ง เผ่าลีซอ เผ่าเย้า เผ่ามูเซอ ชาวจีน ชาวบน ชาวลาวพวน ลาวแง้ว ลาวคร้ัง โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จากผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถทางภาษาและ วัฒนธรรมของแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต และแบบประเมนิการฝกึอบรม การวเิคราะหข์อ้มลูไดแ้ก่ การสรปุและบรรยาย ตามวตัถปุระสงค์ ผลการวิจัยพบว่า ความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมของจังหวัดเพชรบูรณ์มี 1) กลมุ่ภาษาถนิ่ไทยกลาง 2) กลมุ่ภาษาถนิ่ไทยอสิาน 3) กลมุ่ภาษาไทยหลม่ 4) กลมุ่ภาษาลาว 5) กลมุ่ภาษาจนี 6) กลมุ่ภาษาชาวบน 7) กลมุ่ภาษาชาวเขา ผลการจดัการความรคู้วามหลากหลาย ทางภาษาและวัฒนธรรมมี 7 ข้ันตอน ได้แก่ 1) การค้นหาความรู้ 2) การสร้างและแสวงหา ความรู้ 3) การจัดความรู้ให้เป็นระบบ 4) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ การเข้าถึงความรู้ 6) การแบง่ปนัและแลกเปลยี่นความรู้ 7) การเรยีนรู้ การอนรุกัษแ์ละการสบืสานความหลากหลาย โดยการจัดท�าชุดความรู้ความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ จัดท�า ฐานข้อมูลทางภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในชุมชน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ยทุธนา แซเ่ตยีว. การวดัการวเิคราะหแ์ละการจดัการความร:ู้ สรา้งองคก์รอจัฉรยิะ. กรงุเทพฯ:
อินโนกราฟฟิกส์, 2547.

วิจารณ์ พานิช. การจัดการความรู้กับการบริหารราชการไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการ จัดการความรู้เพื่อสังคม, 2548.

สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. รายงานการวิจัยเร่ืองแผนท่ีภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา, 2540.

สมศกัดิ์ ศรสีนัตสิขุ.“มองอนาคต : บทวเิคราะหว์ฒันธรรมของคนอสีาน”. วารสารมนษุยศาสตร์ สังคมศาสตร์.18, 1 (ตุลาคม-ธันวาคม 2543) : 27-32.
ส�าราญ ทา้วเงนิ. การศกึษาความหลากหลายทางภาษาและวฒันธรรมของจงัหวดัเพชรบรูณ.์
ส�านักวิจัยและพัฒนา. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์, 2555.

ส�าราญ ท้าวเงิน และคณะ. ทุนทางภาษาและวัฒนธรรมกับการสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม ชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในจังหวัดเพชรบูรณ์. ส�านักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบูรณ์, 2558.

Krauss, Michael. “The world’s languages in crisis”. Language. 68, 1 (1992) :1-42.

Brown, J. Marvin. From Ancient Thai to Modern Dialects. Bangkok: Social Science
Association Press of Thailand, 1965.