การศึกษาหลักศรัทธาตามแนวคิดพระพุทธศาสนาเถรวาท ของชาวพุทธจังหวัดอุบลราชธานี

Main Article Content

ยัง กุนอก

บทคัดย่อ

การวิจัยคร้ังน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาหลักศรัทธาในพระพุทธศาสนาเถรวาท การน�าหลักศรัทธาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันของชาวพุทธในจังหวัดอุบลราชธานีจ�านวน 400 คน โดยใชแ้บบสอบถามเปน็เครอื่งมอืในการเกบ็ขอ้มลู และวเิคราะหข์อ้มลูโดยหาคา่รอ้ยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviations) และทดสอบ คา่ t-test โดยใชว้ธิี Independent t-test ผลการวจิยัพบวา่ 1) ชาวพทุธในจงัหวดัอบุลราชธานี เข้าใจในหลักศรัทธา 4 ในระดับมากเมื่อจ�าแนกเป็นรายด้านความรู้ความเข้าใจด้านวิปากสัทธา อยู่ในระดับมากรองลงมาคือ ด้านกัมมัสสกตาสัทธาและตถาคตโพธิสัทธาส่วนด้านกัมมสัทธา อยู่ในระดับปานกลาง 2) เมื่อจ�าแนกตามเพศอายุและการศึกษาแตกต่างกัน พบว่า มีศรัทธา 4
ในพุทธศาสนาแตกต่างกันโดยมีนัยส�าคัญ 3) ชาวพุทธในจังหวัดอุบลราชธานีน�าหลักศรัทธา 4 ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันกล่าวคือ ด้านกัมมสัทธายังเช่ือกฎแห่งกรรมด้านวิปากสัทธา เช่ือว่ากรรมท่ีท�าต้องมีผลตามมาด้านกัมมัสสกตาสัทธาพบว่า ได้น�าหลักศรัทธาไปเป็น เคร่ืองเตือนสติในการกระท�าด้านตถาคตโพธิสัทธาพบว่า ชาวพุทธเช่ือว่าพระพุทธเจ้ามีจริง เชื่อในการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า 4) ชาวพุทธจังหวัดอุบลราชธานีเสนอแนะการน�าหลักศรัทธา ท้ัง 4 ด้าน ไปใช้ในชีวิตประจ�าวันโดยให้ศึกษาหลักศรัทธาฝ่ายเถรวาทให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ แล้วน�ามาประพฤติปฏิบัติตามและควรปฏิเสธในหลักศรัทธาท่ีคลาดเคล่ือนหรือผิดไปจาก หลักศรัทธา ที่ถูกต้องตามหลักศรัทธาของพระพุทธศาสนา

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

คณู โทขนัธ.์ พทุธศาสนากบัสงัคมและวฒันธรรมไทย. กรงุเทพฯ: โรงพมิพ์ โอ. เอส. พรนิตงิ เฮาร,์ 2545.
เดือน ค�าดี. ศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2541.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). พระพุทธศาสนาพัฒนาคนและสังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ส่วนท้องถิ่นกรมการปกครอง, 2540.

พระมหาปรม โอภาโส (กองค�า). ศกึษาวเิคราะหศ์รทัธาของชาวพทุธไทยในปจัจบุนั. วทิยานพินธ์ พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ บณั ฑติ วทิยาลยัมหาวทิยาลยัมหาจฬุาลงกรณราช วทิ
ยาลยั,2542.

พระมหาภาณุ ภาณุโก (กลิ่นปราชญ์). การศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดเรื่องศรัทธาในพุทธ
ปรัชญาเถรวาทกับเซนต์ออกัสติน. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2542.

พระมหายุทธกร ปญฺญาสิริ (สัจจรัจนพงศ์). ศึกษาวิเคราะห์ศรัทธาในพระพุทธศาสนา.
วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย, 2547.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร. การศึกษาเปรียบเทียบหลักศรัทธาในพระพุทธศาสนาเถรวาท กับศาสนาเซน. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2557.

พระสมุห์วันชัย เกสรธมฺโม (มีมาก). การศึกษาศรัทธาของประชาชนที่มีต่อพระพุทธชินราช
จังหวัดพิษณุโลก ในฐานะส่ือพุทธศิลป์. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2551.

รัฐวรรณ เทพหัสดิน ณ อยุธยา. ศรัทธาในพระพุทธศาสนาเถรวาท. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2544.

วศิน อินทสระ. ชาวพุทธกับวิกฤติศรัทธา. กรุงเทพฯ: ส�านักพิมพ์ปัญญา, 2558.

อภินันท์ จันตะนี. การใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล ส�าหรับการวิจัยทางธุรกิจ. พระนครศรีอยุธยา:
ฝ่ายบัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา,2549.

อภิศร มีผล. การศึกษาศรัทธาในฐานะปัจจัยเก้ือกูลต่อการเข้าถึงเป้าหมายของพระพุทธ ศาสนา. วทิยานพินธพ์ทุธศาสตรมหาบณัฑติบณัฑติ วทิยาลยัมหาวทิยาลยั มหาจฬุาลงกรณ ราชวิทยาลัย, 2555.

อภิศักดิ์ โสมอินทร์. โลกทัศน์อีสาน. มหาสารคาม: อภิชาติการพิมพ์, 2537.