ยุทธศาสตร์การสร้างตราสินค้าของกลุ่มธุรกิจเครื่องสำอางสมุนไพร จากภูมิปัญญาไทย เพื่อการแข่งขันในประชาคมอาเซียน

Main Article Content

ธนธรรศ สนธีระ
เสรี วงษ์มณฑา
พรรณวิภา กฤษฎาพงษ
ชุษณะ เตชคณา

บทคัดย่อ

การผลิตเคร่ืองส�าอางจากสมุนไพรไทยถือเป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีมีการสืบทอด และพฒันาอยา่งตอ่เนอื่งจากอดตีจนถงึปจัจบุนั วตัถปุระสงคข์องงานวจิยั คอืเพอื่หายทุธศาสตร์ การสร้างตราสินค้าของกลุ่มธุรกิจเคร่ืองส�าอางสมุนไพรจากภูมิปัญญาไทยเพ่ือการแข่งขัน ในประชาคมอาเซียน เพราะปัญหาท่ีพบของผลิตภัณฑ์เคร่ืองส�าอางสมุนไพรไทยเหล่าน้ี คือ ยังไม่เป็นที่รู้จักมากนักในระดับสากล เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใชก้ารสมัภาษณแ์บบเจาะลกึ (In-Depth Interview) กบั ผทู้รงคณุวฒุทิางดา้นเครอื่งส�าอาง สมนุไพรไทยจ�านวน 3 ทา่น ผทู้รงคณุวฒุทิางดา้นการสรา้งตราสนิคา้จ�านวน 3 ทา่น นกัการตลาด ทปี่ระสบความส�าเรจ็ในการสรา้งตราสนิคา้จ�านวน 3 ทา่น บรรณาธกิารวารสารทางดา้นการตลาด จ�านวน 3 ท่าน รวมถึงผู้เช่ียวชาญผลิตภัณฑ์เคร่ืองส�าอางท่ีมีช่ือเสียงเป็นตัวแทนผู้บริโภค อีกจ�านวน 3 ท่าน รวมทั้งหมด 15 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า สามารถหายุทธศาสตร์ในการสร้างตราสินค้าเคร่ืองส�าอางสมุนไพร จากภูมิปัญญาไทยได้เป็น 5 ยุทธศาสตร์อันได้แก่ 1.ยุทธศาสตร์ในการสร้างความแตกต่าง (Differentiation) ท่ีบอกถึงการอาศัยเร่ืองราวและองค์ความรู้ของภูมิปัญญาในอดีตท่ีทรง คุณค่า พร้อมส่วนผสมหลักที่เป็นสมุนไพรไทย 2.ยุทธศาสตร์ในการสร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยง กับผู้บริโภค (Relevance) โดยเน้นการสร้างความรู้สึกผูกพันกับตราสินค้า 3.ยุทธศาสตร์ ในการสร้างความเชื่อมั่นในใจของผู้บริโภค (Esteem) โดยเน้นการสร้างความเชื่อถือ ด้วยการพัฒนางานวิจัยรองรับ 4.ยุทธศาสตร์ในการสร้างการตระหนักรู้ (Awareness) โดยเน้น ให้เกิดการรับรู้เก่ียวกับตัวสินค้า ว่าดีกว่าสินค้าอ่ืนอย่างไร และ 5.ยุทธศาสตร์ในการสร้างการระลกึไดใ้นใจของผบู้รโิภค (Mind’s eye) โดยเนน้ใหผ้บู้รโิภคสามารถจดจ�าขอ้มลูของสนิคา้ เอาไว้ในใจและต้องตอกย�้าตราสินค้าในใจของผู้บริโภคอยู่เสมอ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรุงเทพธุรกิจ. เครื่องส�าอางไทยลุยยกมาตรฐานธุรกิจ. สืบค้นเม่ือ 14 ตุลาคม 2555, จาก https://www.thaicosmetic.org/index.php?option=com_content &view= article&id= 48:2011-09-01-06-59-33&catid=5:news&Itemid=16

จริาภา สขุเกษม. กลยทุธแ์ละบทบาทของการประชาสมัพนัธใ์นการสรา้งสนิคา้ไทย. กรงุเทพฯ:
วิทยานิพนธ์ปริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2549.

ทัฬหวัฒน์ เสาวภาพโสภา. ยุทธวิธีการสื่อสารตราสินค้าไทยให้สามารถแข่งขันกับตราสินค้า ต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552.

เสรี วงษ์มณฑา. กลยุทธ์การตลาด: การวางแผนการตลาด. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์ม และไซเท็กซ์,
2542.

อรัญญา มโนสร้อย. การวิจัยและพัฒนาสมุนไพรใช้ในเคร่ืองส�าอาง ใน การอบรมความรู้ ดา้นสมนุไพร ครงั้ท ี่1. พระนครศรอียธุยา: ส�านกัพมิพส์ถาบนัราชภฏัพระนครศรอียธุยา, 2545.

ASEAN Secretariat. Overview. สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2555 จาก https://www.aseansec. org/about_ ASEAN.html, 2009.

Humphrey, A. SWOT analysis for management consulting. SRI Alumni News letter (SRI International), 2005.

Knapp, D. E. The brand mindset. New York : McGraw-Hill, 2000.