ภาพลักษณ์องค์กรที่มีผลต่อแรงจูงใจในการเข้าทำงานโรงแรมของนักศึกษา สาขาการท่องเที่ยวและการโรงแรมที่ศึกษาในจังหวัดมหาสารคาม

Main Article Content

สุรศักดิ์ ประสาร
ปรีดา ไชยา

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพลักษณ์องค์กรที่มีผลต่อ แรงจูงใจในการเข้า
ท�ำงานโรงแรมของนักศึกษาสาขาการท่องเที่ยวและการโรงแรมที่ศึกษาในจังหวัดมหาสารคาม
จ�ำนวน 400คน ซึ่งได้มาจากวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวกโดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล
เชิงปริมาณ และวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้Multiple Correlation Analysis, Multiple
Regression Analysisและ Independent T Test ผลการวิจัยพบว่าภาพลักษณ์องค์กร
มีความสัมพันธ์และผลกระทบต ่อแรงจูงใจในการเข้าท�ำงาน โรงแรมของนักศึกษาสาขา
การท่องเที่ยวและการโรงแรมที่ศึกษาในจังหวัดมหาสารคาม โดยที่ปัจจัยภาพลักษณ์องค์กร
ในด้านคุณภาพการบริหารมีความสัมพันธ์และมีอิทธิพล ต่อแรงจูงใจในการเข้าท�ำงานโรงแรม
ของนักศึกษามากที่สุดรองลงมาเป็นปัจจัยด้านการสรรหาและการพัฒนาบุคลากรและปัจจัย
ด้านชื่อเสียง นอกจากนี้แล้วนักศึกษาสาขาการท่องเที่ยว และการโรงแรมที่มีชั้นปีต่างกัน
มีความคิดเห็นเกี่ยวกับแรงจูงใจในการเข้าท�ำงานโรงแรม 3 ด้าน มีความส�ำคัญอยู่ในระดับมาก
ที่สุดคือด้านสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ด้านเงินเดือนและสวัสดิการและด้านความก้าวหน้า
ในหน้าที่การงาน ส่วนความคิดเห็นด้านเจตคติต่องาน ที่ตนสนใจ มีความส�ำคัญอยู่ในระดับมาก
โดยที่นักศึกษาชั้นปีแตกต่างกันมีความคิดเห็น แตกต่างกันซึ่งนักศึกษาชั้นปีที่2ให้ความส�ำคัญ
ด้านความก้าวหน้าในหน้าที่ท�ำงานน้อยกว่านักศึกษาชั้นปีที่ 3

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ประวัติความเป็นมา. (ออนไลน์).
เข้าถึงได้ที่:https://hos.msu.ac.th/hos/page.php?page_id=1 สืบค้นวันที่ 23
พฤศจิกายน 2557
ชลลดาสิทธิกรโสมนัส.แรงจูงใจและพฤติกรรมในการเลือกศึกษาต่อจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ของนิสิตระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1-4. สารนิพนธ์กศ.ม.(ธุรกิจศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ, 2548.
เชษฐวุฒิกฤตลักษณ์. ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ขององค์กรของผู้ใช้
บริการ ธนาคารนครหลวงไทย จ�ำกัด (มหาชน) สาขาร้อยเอ็ด. การศึกษาค้นคว้าอิสระ
(บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2550.
ทัศนีย์ธนอนันต์ตระกูล. ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาการบัญชีสิ่งแวดล้อมความรับผิดชอบ
ต่อสังคมและภาพลักษณ์องค์กรของธุรกิจกระดาษในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บัญชี
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552.
ธนาธาร สุนิพัฒน์. การตัดสินใจเข้าท�ำงานในอุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือของพนักงาน
ในจังหวัดชลบุรี.วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิทยาการจัดการอุตสาหกรรม
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2554.
บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น, 2545
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. สถิติวิเคราะห์เพื่อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: เรือนแก้ว
การพิมพ์, 2553.
เบ็ญจวรรณ ชาติจอหอ. ความสัมพันธ์ระหว่างการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีความเชื่อมั่นต่อ
งบการเงินและภาพลักษณ์องค์กรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง
ประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2550.
ิรัชล ภิรัตนกุล.การประชาสัมพันธ์ฉบับสมบูรณ์ (ปรับปรุงเพิ่มเติมใหม่). กรุงเทพฯ:ส�ำนักพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย. ท่องเที่ยวไทยปรับตัวสู่ประชาคมอาเซียน.(ออนไลน์). เข้าถึง
ได้ที่:https://www.thaichamber.org/scripts/detail.asp?nNEWSID=4623. สืบค้น
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2557
สมศักดิ์ เวียงอินทร์. ผลกระทบของความรับผิดชอบต่อสังคมและภาพลักษณ์ขององค์กร
ที่มีต่อผลการด�ำเนินงานของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร.วิทยานิพนธ์
การจัดการมหาบัณฑิต คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2551.
สุวิมลสุวรรณี. ผลกระทบของการประชาสัมพันธ์การตลาดเชิงกลยุทธ์ที่มีต่อภาพลักษณ์องค์กร
ของธุรกิจโรงแรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2556.
อัชรีหล ่อเหลี่ยม. แรงจูงใจของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการตัดสินใจ
เข้าท�ำงานองค์กรของรัฐกรณีศึกษาอ�ำเภอนายายอามจังหวัดจันทบุรี. ปัญหาพิเศษ
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน) วิทยาลัย
การบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2555.
Lemmink. J, and Jan M. “EmployeeBehavior, Feelingsor Warmthand Customer
Perception in Service Encounters.” International Journal of Retail &
Distribution Management. 30, 1 (2002) : 18-33.