พระวัดป่าอีสาน : การช่วงชิงพื้นที่ภายใต้กลไกอำนาจรัฐ

Main Article Content

ธีระพงษ์ มีไธสง

บทคัดย่อ

พระวัดป่าอีสานเคยมีบทบาทโดดเด่นเป็นอย่างมาก ในสมัยรัชกาลท่ี 3-5 โดย พระวดัปา่ถอืก�าเนดิจาก พระวชริญาณภกิขุ ไดป้ฏริปูองคก์รทางพระพทุธศาสนาดว้ยการกอ่ตงั้ ธรรมยุติกนิกายขึ้น เมื่อทรงลาผนวชมาครองราชย์เป็นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ได้ส่งพระสงฆ์ธรรมยุติกนิกายท่ีผ่านการถ่ายทอดอุดมการณ์รัฐไปยังหัวเมืองอีสานเพ่ือปฏิรูป สังคมอีสาน พอถึงสมัยรัชกาลท่ี 5 บริบททางหัวเมืองอีสานตกอยู่ภายใต้การคุกคามจาก มหาอ�านาจตะวันตก ท�าให้รัฐด�าเนินนโยบายเพ่ือท�าพ้ืนท่ีอีสานและชาวอีสานซ่ึงมีวัฒนธรรม แบบลาวให้กลายเป็นคนไทย โดยปฏิรูปหัวเมืองอีสานและยึดอ�านาจเพ่ือรวมศูนย์มาอยู่ท่ี ส่วนกลาง ทางฝ่ายคณะสงฆ์ได้ออกพระราชบัญญัติการปกครองคณะสงฆ์เพื่อควบคุมพระสงฆ์ และมอบอ�านาจเบ็ดเสร็จให้สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรสบัญชา คณะสงฆ์ด้วยการส่งพระสงฆ์ธรรมยุติกนิกายไปยังหัวเมืองอีสานเพื่อปฏิรูปความเชื่อชาวอีสาน ทเี่ปน็แบบลา้นชา้งใหก้ลายเปน็มาตรฐานสว่นกลางแบบรฐัไทย การเคลอื่นไหวของกลมุ่พระสงฆ์ สายอดุมการณร์ฐัตอ้งเผชญิหนา้กบัพระสงฆท์อ้งถนิ่ และพระสงฆส์ายอดุมการณศ์าสนา รวมถงึ กลมุ่อ�านาจทอ้งถนิ่ เพอื่การชว่งชงิพนื้ทอี่สีานเปน็ไปอยา่งเขม้ขน้ จนในทสี่ดุ น�าไปสกู่ารปรบัตวั และการสร้างอัตลักษณ์ใหม่ของพระสงฆ์สายวัดป่าอีสานภายใต้บริบทของรัฐไทยสมัยใหม่

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. อัตตโนประวัติพระราชนิโรธรังสี. พิมพ์ครั้งที่ 12 ที่ระลึก คลา้ ยวนั เกดิ และฉลองสมณศกัดิ์ 26 เมษายน 2534. กรงุเทพฯ:
ป.สมัพนัธพ์าณชิย,์ 2534.
กรมการศาสนา. ประวัติพระพุทธศาสนาแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี. กรุงเทพฯ: กรมการ ศาสนา, 2526.
ชเิกฮารุ ทานาเบ. พธิกีรรมและปฏบิตักิารในสงัคมชาวนาภาคเหนอืของประเทศไทย. ขวญัชวีนั บัวแดง และคณะ แปล. เชียงใหม่: ศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์ และการพัฒนา คณะสังคม
ศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2555.
เติม วิภาคย์พจนกิจ. ประวัติศาสตร์อีสาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับมูลนิธิโครงการต�าราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2546.
ธีรยุทธ บุญมี. มิเชล ฟูโกต์ (Michel Foucault). กรุงเทพฯ: วิภาษา, 2551.
นภนาท อนุพงศ์พัฒน์. ผลกระทบของพระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. 121
ต่อการปกครองคณะสงฆ์ไทย. บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.
ประจวบ แสนกลาง. บทบาทของพระสงฆ์ฝ่ายวิปัสสนาธุระที่มีต่อสังคมอีสานเหนือ : ศึกษา กรณสีายพระอาจารยม์นั่ ภรูทิตโฺต พ.ศ. 2436-2529. วทิยานพินธศ์ลิปศาสตรมหาบณัฑติ บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2531.
เปรมวิทย์ ท่อแก้ว. การก่อตั้งและขยายวงศ์ของธรรมยุติกนิกายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
(พ.ศ. 2394-2473). วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534.
พระมหาบัว ญาณสมฺปนฺโน. พระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์ 50. 2550.
พระสุดใจ ทันตมโน และคณะ. ญาณสัมปันนธัมมานุสรณ์. อนุสรณ์เนื่องในงานพระราชทาน เพลิงถวายแด่พระสรีระสังขารพระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน)
ณ เมรชุวั่คราว วดัเกสรศลีคณุ (วดัปา่บา้นตาด) ต�าบลบา้นตาด อ�าเภอเมอืงอดุรธานี จงัหวดั อุดรธานี. วันที่ 5 มีนาคม พุทธศักราช 2554.

พระพรหมมุนี (อ้วน ติสฺโส). ที่ระลึกในงานผูกพัทธสีมาและฉลองพระอุโบสถวัดสุปัฏนาราม
จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2479.
ยูคิโอะ ฮายาชิ. พุทธศาสนาเชิงปฏิบัติของคนไทยอีสาน ศาสนาในความเป็นภูมิภาค. พินิจ
ลาภธนานนท์ แปล. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
ศรสีพุร ชว่งสกลุ. ความเปลยี่นแปลงของคณะสงฆ ์: ศกึษากรณธีรรมยตุกินกิาย (พ.ศ. 2368- พ.ศ. 2464). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2530.
สุลักษณ์ ศิวรักษ์. หันกงจักรเป็นดอกบัว. กรุงเทพฯ: ส่องศยาม. 2547.
Keyes. F. Charles. Isan : Regionalism in Northeastern Thailand. รัตนา โตสกุล
แปล. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการต�าราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 2556.
Kamala Tiyavanich. Forest Recallections Wandering Monks in Twentyeth-century Thailand. Chiang Mai: Silkworm Books. 1997.
Gramsci.Antonio. The Intellectuals Selections form the Prison Notebooks of
Antonio Gramsci. Q. Hoare and G. Nowell-Smith (eds.). London: Lawrence
and Wishart, 1971.
Keyes. F. Charles. Pheasant and Nation A Thai-Lao Village in A Thai State. A
Thesis Presented to the Faculty of the Graduate School of Cornell University
for the Degree of Doctor of Philosophy, 1996.
Tambiah.S.J. Buddhism and the Spirit Cults in North-east Thailand. London:
Cambridge University, 1980.
Tylor J.L. (1996). Forest monks and the Nation-State An Anthropological and
Historical Study in Northeastern Thailand. Singapore: Institute of Southeast
Asian Studies, 1996.
Wyatt. K. David. Studies on Thai History. Chiang Mai: Silkworm Books, 2004
สุรพศ ทวีศักดิ์. มายาคติ ‘พระสงฆ์อยู่เหนือการเมือง’ ตามทัศนะของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุโฺต) สบืคน้เมอื่วนัที่ 23 มถินุายน 2558 จากhttp ://prachatai.com/journal /2014/10/56277
พระอาจารย์ดี ฉนฺโน. สืบค้นเมื่อวนัที่ 3 กรกฎาคม 2558 จาก https ://www.facebook.com /permalink. php?id=314262148772547&story_fbid=314264245439004
http ://www.jariyatam.com/th/thai-superme-patriarch/somdet-10-/310) สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2558
พระทวศีกัดิ์ ฐติธมโฺม. ประวตัพิระอบุาลคีณุปูมาจารย์. (สมัภาษณ)์. พระภกิษสุงักดัวดัสริจินัโท บ้านหนองไหล ต.หนองขอน อ.เมือง จ.อุบลราชธานี. 9 มีนาคม 2558.

เรืองเดช เขจรศาสตร์. บทบาทของพระวัดป่าในลุ่มแม่น�้าโขง. (สัมภาษณ์). นักวิชาการอิสระ ด้านพุทธศาสนา; 10 มีนาคม 2558.