การจัดการศึกษาดนตรีตะวันตกในสถาบันอุดมศึกษาของราชอาณาจักรกัมพูชา*
Main Article Content
บทคัดย่อ
การจัดการศึกษาวิชาชีพทางด้านศิลปะโดยเฉพาะแขนงวิชาดนตรีตะวันตก ในราชอาณาจักรกัมพูชา นับว่ายังไม่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ด้วยปัจจัยทางสังคม วัฒนธรรม และค่านิยมทางการศึกษาของประชาชนชาวกัมพูชา จึงมีสถาบันอุดมศึกษา เพียงไม่ก่ีแห่งท่ีด�าเนินการจัดการศึกษาด้านดนตรีตะวันตกและยังไม่สามารถพัฒนา การจัดการศึกษาไปสู่มาตรฐานสากลได้ บทความวิจัยเร่ืองการจัดการศึกษาดนตรีตะวันตก ในสถาบันอุดมศึกษาของราชอาณาจักรกัมพูชา มีจุดมุ่งหมายเพ่ือศึกษาสภาพและปัญหา ของกระบวนการจัดการศึกษาดนตรีตะวันตกในสถาบันอุดมศึกษาของราชอาณาจักรกัมพูชา โดยแบ่งการศึกษาเป็น 5 ด้าน คือ ด้านหลักสูตร ด้านผู้สอน ด้านผู้เรียน ด้านการเรียนการสอน และด้านทรัพยากรการศึกษา ท�าการศึกษาสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาดนตรีตะวันตก 2 สถาบัน คือ มหาวิทยาลัยภูมินทร์วิจิตรศิลป์ (Royal University of Fine Art) และสถาบัน วิจิตรศิลป์นานาชาติ (Phnom Penh International Institute of the Arts) จากการ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ผู้บริหาร คณาจารย์ นักศึกษา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา โดยใชเ้ครอื่งมอืในการวจิยั คอื แบบสมัภาษณ์ แบบสงัเกต และการสมัภาษณแ์บบเจาะลกึ ผลการ วิจัยพบว่า สภาพและปัญหาของกระบวนการจัดการศึกษาดนตรีตะวันตกในสถาบันอุดมศึกษา ของราชอาณาจักรกัมพูชา ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านหลักสูตร มีการเปิดสอนใน 3 หลักสูตร คือ Associate of Arts Bachelor of Arts และ Bachelor of Music สาขาการปฏิบัติเครื่องดนตรี ตะวนัตก สาขาการขบัรอ้ง สาขาการประพนัธเ์พลง และสาขาดนตรวีทิยา หลกัสตูร Bachelor of Music เป็นหลักสูตรที่ใช้สอนมาเป็นเวลานาน ควรมีการพัฒนาหลักสูตร 2) ด้านผู้สอน มีผู้สอน ท้ังชาวกัมพูชาและผู้สอนชาวต่างประเทศ ผู้สอนชาวกัมพูชามีประสบการณ์ในการถ่ายทอด ความรู้น้อย 3) ด้านผู้เรียน ผู้เรียนจบการศึกษามาจากโรงเรียนมัธยมวิจิตรศิลป์ มีจ�านวน ผเู้รยีนนอ้ย มพีนื้ฐานทางดา้นดนตรตีะวนัตกและมคีวามเอาใจใสใ่นการเรยีนและการฝกึปฏบิตัิ เครอื่งดนตรนีอ้ย 4) ดา้นการเรยีนการสอน สอนโดยการเนน้ผเู้รยีนเปน็ส�าคญั และการสรา้งเสรมิ ประสบการณ์ทางดนตรีจากการแสดงดนตรีในสถานท่ีต่าง ๆ มีการจัดกิจกรรมเสริมการเรียน การสอนไม่คลอบคลุมและไม่สอดคล้องกับความต้องการของหลักสูตร 5) ด้านทรัพยากร การศึกษา ทรัพยากรด้านการเงินได้รับจากรัฐบาล จากหน่วยงานภายนอกและการสนับสนุน จากองค์กรระหว่างประเทศ ทรัพยากรท่ีเป็นอุปกรณ์ เคร่ืองดนตรี อาคารเรียนและห้องเรียน ต�าราและเอกสารต่าง ๆ รวมถึงอุปกรณ์เทคโนโลยีทางดนตรี มีจ�านวนไม่เพียงพอต่อ ความต้องการและไม่ได้รับการพัฒนามาเป็นเวลานาน
Article Details
References
ณรุทธ์ สุทธจิตต์. พฤติกรรมการสอนดนตรี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ส�านักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2538.
ธนิน กระแสร์. การจัดการเรียนการสอนดนตรีท่ีมีผลต่อความส�าเร็จ ของสถาบันดนตรี ในสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัย มหาสารคาม,
2555.
นคร วงศ์ไชยรัตนกุล. การเรียนการสอนดนตรีสากลของวิทยาลัยนาฏศิลป์ในประเทศไทย.
วิทยานิพนธ์ ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2554.
นัทธี เชียงชะนา. การสังเคราะห์งานวิจัยทางดนตรีศึกษา : การวิเคราะห์อภิมานและ การวเิคราะหเ์นอื้หา. วทิยานพินธค์รศุาสตรมหาบณัฑติ จฬุาลงกรณม์หาวทิยาลยั, 2550.
ปริวัฒน์ ถานิสโร. กระบวนการสอนวิชาดนตรีสากลในวิทยาลัยสารพัดช่าง. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล, 2544.
ปยิพนัธ์ แสนทวสีขุ. แนวทางการพฒันาการสอนดนตรขีองสถาบนัอดุมศกึษาในภาคตะวนัออก เฉียงเหนือ. รายงานการวิจัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2544.
พงษ์พิทยา สัพโส. แนวทางการจัดการเรียนการสอนเทคโนโลยีดนตรีในประเทศไทยและ ประเทศสิงคโปร์. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2555.
สมจิต ไสสุวรรณ. การดนตรีศึกษาในสถาบันการศึกษาของรัฐ ในสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล, 2548.
ส�านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. การวิจัยเปรียบเทียบการปฏิรูปการศึกษาของประเทศ ในกลุ่มอาเซียน. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ., 2549.
สุนีย์ ภู่พันธ์. แนวคิดพื้นฐานการสร้างและการพัฒนาหลักสูตร ยุคปฏิรูปการศึกษาไทย.
เชียงใหม่: เชียงใหม่โรงพิมพ์แสงศิลป์, 2546.
อบรม เยาวชนและกีฬา. ยุทธศาสตร์การศึกษา. พนมเปญ : กระทรวงอบรม เยาวชนและกีฬา
ราชอาณาจักรกัมพูชา, 2549.
อรรคพงศ์ ภลูายยาว. กระบวนการจดัการเรยีนการสอนเปยีโนในระดบัอดุมศกึษา ของสถาบนั ดนตรีเว้ ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม. วิทยานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตร มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2554.
Alan Joseph, Gamm. “The Identification an measurement of music teaching
Styles,” Dissertations Abstracts international. 52, 7 (January 1992) : 2454.