การเปรียบเทียบเจตคติของหัวหน้างานที่มีต่อพฤติกรรมการท�ำงาน ระหว่างแรงงานไทยและแรงงานต่างด้าว กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธาน

Main Article Content

ภีม พรประเสริฐ
เจริญ โสภา
ปวิณญดา บุญรมย
อมรรัตน์ พรประเสริฐ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบเจตคติและปัจจัยที่วิตกกังวลของหัวหน้างาน
ต่อแรงงานคนไทยและแรงงานต่างด้าว กลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มหัวหน้างานของอุตสาหกรรมโรงงาน
ก่อสร้างและบริการ ในจังหวัดอุบลราชธานีจ�ำนวน 30 ราย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ
ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้วิเคราะห์คือ ความถี่และ ร้อยละ ผลการวิจัยพบว่าหัวหน้า
งานส่วนใหญ่พึงพอใจแรงงานไทยในด้านฝีมือแรงงาน และพึงพอใจแรงงานต่างด้าวในด้านความ
ขยันอดทน ปัจจัยที่หัวหน้างานไม่พึงประสงค์ต่อแรงงานไทยมากที่สุดได้แก่ ความไม่มีระเบียบ
วินัยและความขี้เหล้าเมายา ปัจจัยที่หัวหน้างานไม่พึงประสงค์ต่อแรงงานต่างด้าวมากที่สุด
ได้แก่การลักขโมยและความขี้เหล้าเมายา ตามล�ำดับ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กุศล สุนทรธาดา และ อุมาภรณ์ ภัทรวาณิชย์. (2540). กระบวนการจ้างแรงงานข้ามชาติ
ที่ลักลอบเข้าเมืองและความคิดเห็นของภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง. กรุงเทพฯ:
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
จรัญ พรหมอยู่. (2526). ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ถาวร ผิวเณร. (2547). การเติบโตทางธุรกิจของสถานประกอบการต่อการใช้แรงงานต่างด้าว
หลบหนีเข้าเมือง 3 สัญชาติพม่าลาวและกัมพูชาในพื้นที่อำเภอเมืองและอำเภอแม่สาย
จังหวัดเชียงราย. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจ.
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง).
ภัทระ เกิดอินทร์และ วิรงรอง ประสานวงศ์. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจ้างแรงงาน
ต่างด้าวและแรงงานท้องถิ่นในภาคธุรกิจก่อสร้างกรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี(รายงาน
การวิจัย). คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
สมเกียรติสังข์นาคและสินพันธุ์พินิจ. (2555).ความต้องการจ้างแรงงานต่างด้าวของผู้ประกอบ
การในจังหวัดสุราษฎร์ธานี(รายงานการวิจัย). วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา:
มหาวิทยาลัยทักษิณ.
สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2557). สถิติแรงงาน
รายไตรมาสปีปัจจุบัน.ค้นเมื่อ1กันยายน 2558, จากhttps://service.nso.go.th/nso/
nsopublish/themes/theme_2-2-4.html
เสกสิทธิคูณศรี. (2539). การประเมินความจำเป็นในการใช้แรงงานต่างด้าวในประเทศไทย.
(วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).
อมรรัตน์ธีโรภาส และ ภีม พรประเสริฐ. การรับรู้คุณลักษณะผู้นำกับความพึงพอใจในงานของ
พนักงานโรงงานอุตสาหกรรมตัดเย็บเสื้อผ้าสำเร็จรูป ในจังหวัดอุบลราชธานี. ใน การ
ประชุมวิชาการทางการศึกษาระดับชาติครั้งที่ 2“การพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้ใน
ชีวิตจริง: การศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนไปสู่ประชาคมอาเซียน”ประจำปี2555.
(ไม่ปรากฏหน้า). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
KusolSuntaratadaand UmapornPattarawanit. (1997).The processofEmployment
of Illegal Migrantsand Opinionof Governmentand PrivateSectors.Bangkok:
Thailand Development Research Institute.
JaranProm-yoo. (1983).The UnderstandingofThaiSociety.Bangkok: OdeonStore.
Tahworn Peawnen. (2004). The Business Growth Affecting the Hiring Decision
of Illegal Migrants form3 Countries (Burma,Laosand Cambodia) in Mueang
and Mae-Sai Districtof ChiangRaiProvince. Independent StudyofBusiness
Administration,FacultyofBusiness Administration. MaeFahLuang University.
PattaraKertintara andWirongrourngPrasanwong. (2014).TheFactors Affectingthe
Hiring Decision of Alien Labor and Local Labor in Construction Business A
Case Study of Ubon Ratchathani Province. (Independent Study, Ubon
Ratchathani Rajabhat University).
Somkeat Sungnak and Sint Punpinij. (2012). The Study on the Enterpreneur’s
Demandsfor AlienWorkersEmployment inSuratthaniProvince. Management
For Development College, Thaksin University.
NationalStatistical Office, Ministryof InformationTechnologyand Communication.
(2014). Labor Statistics in The Quarterly of Current Year. Retrieved from
https://service.nso. go.th/nso/nsopublish/
SeksittiKhoonsri. (1996). AnEvaluationof Necessityon AlienWorkersEmployment
in Thailand. M.A. Thesis of Public Administration, Chiang Mai University.
Amonrat Pornprasert and Peema Pornprasert. (2012). Perception of Leadership
Trait and Work Satisfaction of Employees in Apparel Industry in Ubon
Ratchathani Province. In 2nd National Conference on Developing Real-
Life Learning Experience (n.p.). Bangkok: King Mongkut’s Institute of
Technology Ladkrabang.