องค์ประกอบของการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่ส่งผลต่อแนวทางการ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอ่างวังแข้และภูฆ้องค�ำ ต�ำบลแก่งเค็ง อ�ำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธาน

Main Article Content

ณัฐกานต์ รุ่งเรือง
ลินจง โพชารี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายของการวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการจัดการท่อง
เที่ยวโดยชุมชนที่อ่างวังแข้และภูฆ้องค�ำ ต�ำบลแก่งเค็ง อ�ำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี
2) เสนอแนวทางการพัฒนา อ่างวังแข้และภูฆ้องค�ำ ต�ำบลแก่งเค็ง อ�ำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัด
อุบลราชธานีให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสม (Mixed Method
Research) เริ่มจากการวิจัยเชิงปริมาณเพื่อศึกษาองค์ประกอบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
กลุ่มตัวอย่างคือ นักท่องเที่ยวชาวไทยที่มาเที่ยว อ่างวังแข้และภูฆ้องค�ำ จ�ำนวน 398 คน
โดยวิธีการสุ่มแบบบังเอิญ และการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อยืนยันองค์ประกอบการจัดการท่องเที่ยว
โดยชุมชน และศึกษาแนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอ่างวังแข้และภูฆ้องค�ำ โดยใช้แบบ
สัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง เก็บรวบรวมข้อมูลจากการจัดประชุมผู้ที่มีส ่วนเกี่ยวข้อง
ในการจัดการท่องเที่ยวของต�ำบลแก่งเค็ง จ�ำนวน 30 คน และผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบ
ของการจัดการท ่องเที่ยวโดยชุมชน ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบที่ 1
การจัดการเรียนรู้องค์ประกอบที่ 2 การรวมกลุ่มเป็นองค์กรของชุมชน องค์ประกอบที่ 3
อัตลักษณ์ของชุมชน องค์ประกอบที่4การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติชุมชน องค์ประกอบ
ที่ 5 การจัดการการท่องเที่ยว และ องค์ประกอบที่ 6 การเป็นชุมชนที่มีเอกภาพแบบพอเพียง
และได้รับการยืนยันจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่เข้าร่วมประชุม 30 คน ว่าองค์ประกอบหลักทั้ง 6
องค์ประกอบดังกล่าว มีความส�ำคัญต่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน และเป็นแนวทางน�ำไป
สู ่การพัฒนาแหล ่งท ่องเที่ยว ต่อไป โดยแนวทางการพัฒนาแหล ่งท ่องเที่ยวอ ่างวังแข้และภูฆ้องค�ำ ต�ำบลแก่งเค็ง อ�ำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานีให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวโดย
ชุมชน ท�ำได้โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก ต้องเข้าไปให้การสนับสนุนช่วย
เหลือชุมชน โดยคนในชุมชนต้องให้ความร่วมมือในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวตามองค์ประกอบ
ของการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนทั้ง6องค์ประกอบ ให้มีความครบถ้วนและสมบูรณ์มากที่สุด
พร้อมกันตระหนักรู้ความส�ำคัญของแหล่งท่องเที่ยวในชุมชน และประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว
ให้เป็นที่รู้จักของคนทั่วไป อย่างแพร่หลาย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงการท ่องเที่ยวและกีฬา. (2554). แผนยุทธศาสตร์การวิจัยท ่องเที่ยวแห ่งชาติ
(พ.ศ.2559- 2555). กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
กรมการท่องเที่ยว. (2558). สรุปสถานการณ์นักท่องเที่ยว เดือนตุลาคม. ค้นเมื่อ 27 ธันวาคม
2558, จากhttps://newdot2.samartmultimedia.com
ชาตรีชูจิตร. (2551). โครงการศึกษาศักยภาพชุมชนเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
บ้านแก่งเกาะใหญ่ ต�ำบลปางมะค่าอ�ำเภอขาณุวรลักษบุรีจังหวัดก�ำแพงเพชร (รายงาน
การวิจัย). กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ชูกลิ่น อุนวิจิตร. (2551).การพัฒนาชุมชนต้นแบบของการท่องเที่ยวโดยชุมชนในจังหวัดเชียงราย
รายงานการวิจัย. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
เทคนิค เรืองแสน. (2558). อ่างวังแข้และภูฆ้องค�ำ [จุลสารประชาสัมพันธ์]. อุบลราชธานี:
อุบลราชธานี.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
บุญเลิศจิตตั้งวัฒนา. (2548).การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน.กรุงเทพฯ: เพรสแอนด์ดีไซน์.
ละเอียด ศิลาน้อย. (2552). เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่องแนวทางการท ่องเที่ยว
ในประเทศไทย. ใน โครงการประชุมสัมมนาวิชาการเครือข ่ายและงานวิจัยสาขา
การท ่องเที่ยวและการโรงแรม. มหาสารคาม: คณะการท ่องเที่ยวและการโรงแรม
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วีระพล ทองมา. (2528). การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism :CBT)
ส�ำหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนในเขตที่ดินป่าไม้. เชียงใหม ่: คณะพัฒนา
การท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน. (2554). การท่องเที่ยวโดยชุมชน Community - Based
Tourism. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยพายัพ.
ศุภลักษณ์วิริยะสุมน. (2550). การประมวลองค์ความรู้สถานภาพ และสถานการณ์
การท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคเหนือตอนล่าง (รายงานการวิจัย). ส�ำนักงานกองทุน
สนับสนุนการวิจัย.
อมรา อินทรจักร. (2550). ปัจจัยสู่ความส�ำเร็จในการจัดการธุรกิจการท่องเที่ยวโดยชุมชน
บ้านศรีดงเย็น ต�ำบลช้าง อ�ำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการนันทนาการและการ ท่องเที่ยว, มหาวิทยาลัยแม่โจ้).
อภิวัฒน์ภูริศิวารักษ์. (2553). การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน : กรณีศึกษาพื้นที่ บ้านฝั่งท่า
หมู่ 5 ต�ำบลวังก์พง อ�ำเภอปราณบุรีจังหวัดประจวบคีรีขันธ์. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาชนบทศึกษาและการพัฒนา, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
Dickman. (1996). Overview of the Impacts of Feral Cats on Australian Native
Fauna. Canberra: Australian Nature Conservation Agency.
Ministry of Tourism and Sports. (2011). The Strategy Plan of Tourism Research
(BE 2559- 2555). Bangkok: Ministry of Tourism and Sports.
Department of Tourism. (2015). The Summary of Tourism Status in October.
Retrieved , December,272015, fromhttps://newdot2.samartmultimedia.com.
Chatree Choojit. (2008).TheStudyof CommunityPotential in CommunityBased
Tourism Management of Ban Kang Koh Yai, Tambon Pang Maka, Kanu-
woraluck Buri District, Kamphaeng Phet. Bangkok: Thailand Research Fund.
Chooklin Unwijit. (2008). The Development of Community Model for Tourism in
Chiang Rai. Chiang Rai: Chiang Rai Rajabhat University.
ThecnikRuangsaen. (2008). WangKaeLakeand KongKam HillPublished Journal:
Ubon Ratchathani. Published Journal.
Boonchom Srisaart. (2002). Fundamental Research. (7thEdition). Bangkok:
Suweeriyasarn.
Boonloet Jitthungwutthana. (2005). SustainableTourism Development.Bangkok
:Press and Design.
Laia Silanoy. (2009). ThaiTourism:Presented inTourism and Hotel Networkand
Research Conference,FacultyofTourismand Hotel.MahasarakhamUniversity.
Weerapon Thongma. (2015). Community Based Tourism: CBT for Developing
People’s Well Being in Forest Community Area. Chiang Mai: Faculty of
Tourism Development, Maejo University.
Thailand CommunityBased TourismInstitute. (2011). Community-Based Tourism.
Chiang Mai: Payap University.
Suphaluk Wiriyasumon. (2007). The Evaluation of Knowledge, State, and
Condition of Community Based Tourism in Southern Area of the Northern
of Thailand. (Research Report of Thailand Research Fund, Department of
Local Research).
UmmaraIntharajuk. (2007).TheFactorsofSuccess in Community-Based Tourism
of Ban Dong Yen, Tambon Chang, Mae Tang District, Chiang Mai. (Master’
Thesis, Program in Creativity and Tourism Management, Maejo University).
Aphiwut Phurisiwaruk. (2010). Community - Based Tourism: The Case Study of
Ban Fungta, Moo 5, Tambon Wang Pong, Pranburi District, Prachuabkhi-
rikhan. (Master’Thesis,PrograminLocalStudyand Development,Thammasat
University).
Dickman. (1996). Overview of the Impacts of Feral Cats on Australian Native
Fauna. Canberra: Australian Nature Conservation Agency.