การท่องเที่ยวเชิงอาสาสมัคร: โอกาสจากตลาดนักท่องเที่ยวสูงอายุ

Main Article Content

baifern Wongbuangam

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อนำเสนอแนวคิดเรื่อง “การท่องเที่ยวเชิงอาสาสมัคร: โอกาสจากตลาดนักท่องเที่ยวสูงอายุ” ซึ่งกล่าวถึงความหมายของผู้สูงอายุ สถานการณ์ปัจจุบันทั้งในระดับโลกและในประเทศไทย พฤติกรรมการท่องเที่ยวและความสำคัญของตลาดนักท่องเที่ยวสูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มตลาดที่มีแนวโน้มเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วและจะกลายเป็นตลาดที่มีขนาดใหญ่มากในอนาคตอันใกล้นี้ รวมไปถึงแนวคิดการท่องเที่ยวเชิงอาสาสมัครอันเป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นมาไม่นาน แต่เป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาของธุรกิจการท่องเที่ยวในหลายมิติ ทั้งด้านสังคม วัฒนธรรม ตลอดจนด้านเศรษฐกิจ  จึงกลายเป็นอีกโอกาสของการพัฒนาของตลาดการท่องเที่ยวเชิงอาสาสมัครในการจับคู่กับการใช้ประโยชน์จากความรู้และประสบการณ์ที่หลากหลายของนักท่องเที่ยวสูงอายุ อีกทั้งยังเป็นการจัดการเพื่อให้ธุรกิจท่องเที่ยวในประเทศได้เรียนรู้ ปรับตัวและเตรียมความพร้อมรองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ได้อย่างมีมาตรฐาน เพื่อสร้างโอกาสและความได้เปรียบให้กับธุรกิจทั้งระดับในประเทศและระดับโลกต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กาญจนา สมมิตรและนิทัศน์ บุญไพศาลสถิต. (2556). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงบำเพ็ญประโยชน์ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น. ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มิถุนายน 2556 - พฤศจิกายน 2556. 47-58.
กิริยา ตั๊นสวัสดิ์และบุญเชิด หนูอิ่ม. (2557). ปัจจัยเกื้อหนุนและสุขภาวะที่ผู้สูงอายุได้รับจากการเข้าร่วมทำงานอาสาสมัครในโรงพยาบาลชลบุรี. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปีที่ 22 ฉบับที่ 39 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2557). 263-277
จิราวดี รัตนไพฑูรย์ชัย. (2557). ตลาดนักท่องเที่ยวสูงอายุ: โอกาสใหม่ไทย เติบโตรับ AEC, สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2560. สืบค้นจาก http://www.itd.or.th
ชมพูนุช พรหมภักดิ์. (2556). การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย, สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2560. สืบค้นจาก ibrary.senate.go.th/document/Ext6078/6078440_0002.PDF
ทิพย์สุดา ปทุมมานนท์. (2552). จิตวิทยา สถาปัตยกรรม มนุษย์ ปฏิสันถาร. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์.
ปิยฉัตร ทองแพง (2554). รูปแบบการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยวสำหรับผู้สูงอายุกรณีศึกษาผู้สูงอายุภาคกลาง.วารสารศรีวนาลัยวิจัย. ปีที่ 1 ฉบับที่ 2.
พงศ์เสวก อเนกจำนงพร. (2558). พฤติกรรมการท่องเที่ยวของประชากรรุ่นเบบี้บูมในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
พงษ์ ชัยชนะวิจิตรและคณะ. (2552). Lifestyle ของกลุ่ม Baby boomers. วิทยาลัยการจัดการมหิดล.สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2560, สืบค้นจาก http://inside.cm.mahidol.ac.th/mkt
พรรณี สวนเพลง (2559). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงบำเพ็ญประโยชน์ในกลุ่มจังหวัดสนุก (สกลนคร-นครพนม-มุกดาหาร). กรุงเทพมหานคร. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ลัดณา ศรีอัมพรเอกกุล และ ธีระวัฒน์ จันทึก. (2561). การท่องเที่ยวคุณภาพเพื่อนักท่องเที่ยวสูงอายุ.
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์. ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม 2561). 12-28
วลัยพร ริ้วตระกูลไพบูลย์ (2557). พฤติกรรมนักท่องเทียว. (พิมพ์ครั้งที่ 5). ปทุมธานี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
วารัชต์ มัธยมบุรุษ. (2554). แนวทางการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวสำหรับนักท่องเที่ยวสูงอายุ กรณีศึกษาพื้นที่รอบการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแม่เมาะ จังหวัดลำปาง. การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปี 2554; “การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27 -29 มกราคม 2554: 189 -193.
สมยศ วัฒนากมลชัย และเยาวลักษณ์ ยิ้มอ่อน. (2553). นักท่องเที่ยวสูงอายุ: กลุ่มเป้าหมายที่มีศักยภาพ. วารสารปัญญาภิวัฒน์ ,2(1), 95-103
สามารถ สุวรรณรัตน์ และคณะ. (2558). แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวแบบมีส่วนร่วมระหว่างนักท่องเที่ยวสูงอายุและชุมชนในแหล่งท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบน. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
สิทธิชัย ธรรมเสน่ห์ (2555). รูปแบบการจัดการธุรกิจบริการสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น. 6(1), 88-99
องค์การสหประชาชาติ (2015). World Population Prospects: The 2015 Revision
อาคีรา ราชเวียง. (2560). การโฆษณาออนไลน์ด้านการท่องเที่ยวเพื่อกลุ่มผู้สูงอายุ. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2560)
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2557). แนวโน้มโลก 2050 (ตอนที่ 3) : สังคมโลก...สังคมผู้สูงอายุ, สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2560 สืบค้นจาก http://www.kriengsak.com/elderly-world-3
เมเนเจอร์ออนไลน์. (2560).ล้นต่อเนื่อง! ประชากรไทยปี 59 กทม. 5.68 ล้านคน, สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2560 สืบค้นจาก https://mgronline.com/politics/photo-gallery/9600000032639
เวย์แมกกาซีน.(2560). สังคมสูงวัย & วิกฤติสโลว์ไลฟ์, สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2560 จาก https://waymagazine.org/aging_society/
Alan et al. (2012). New opportunities for the Tourism Market: Senior Tourism and Accessible Tourism, University of Vigo, Spain, pp.139-166. INTECH Open Access Publisher.
Amadeus. (2013). “Shaping the Future of Travel in Asia Pacific: The Big Four TravelEffects.” www.apacwhitepapers.amadeus.com (accessed August 11, 2017).
Campbell, L. M., & C. Smith. (2005). Volunteering for Sea Turtles? Characteristics and Motives of Volunteers Working with the Caribbean Conservation Corporation in Tortuguero, Costa Rica.” MAST. 3, 169-93.
Chen, L. and Chen, J., (2011). The motivations and expectations of international volunteer tourists: A case study of Chinese Village Traditions. Tourism Management. 32, 435-442.
Coldwell, W. (2014). Volunteer Holidays : How to Find an Ethical Project. The Guardian, Retrieved June 28,2015, from http://www.theguardian.com/travel/2014/feb/17/volunteer-holidays-how-to-find-right-project
Grimm, K. E., & Needham, M. D. (2012). Moving beyond the “I” in Motivation : Attributes and Perception of Conservation Volunteer Tourists. Journal of Travel Research. 51(4), 488-501
Kotler,P. (2000). Marketing Management. (9th edition). Bangkok: N.H. Group, Ltd.
Manager online. (2017). Available https://mgronline.com/politics/photo-gallery/9600000032639(in Thai) (20 August 2017)
Pongponrat, Kannapa (2017). Volunteer Tourism Development: Perceptions from University Students in Thailand. Silpakorn University Journal of Social Sciences, Humanities, and Arts. Vol.17(1) : 115- 148

Sin, H.L. (2010). Who are we responsible to? Locals’ tales of volunteer tourism. Geoforum 41: 983-992.
Stoddart & Rogerson. (2004). Volunteer tourism: The case of Habitat for Humanity South Africa. GeoJournal. July 2004, Volume 60, Issue 3, pp 311–318
United Nations. (2015). World Population Prospects: The 2015 Revision
UNWTO. (2016). World Tourism Barometer, Volume 14. https://www.e-unwto.org/toc/wtobarometereng/14/3 (20 August 2017)

Translated Thai References (อ้างอิงแปลไทยเป็นอังกฤษ)
Anekchumnongporn, P. (2015). Tourism Behavior of Baby Boom Generation in Bangkok. Thesis (M.A.) Hospitality and Tourism Industry Management Program Bangkok University. (in Thai)
Chaichanavijit, P. et al. (2009). Lifestyle of the Baby Boomers group. Available http://inside.cm.mahidol.ac.th/mkt (1 October 2017) (in Thai)
Chareonwongsak, K. (2014). World’s trend 2050(Part3): World Society…Aging Society, Available http://www.kriengsak.com/elderly-world-3 (in Thai) (20 August 2017)
Chetha, S. and Mektripop, W. (2005). Study and apply lessons from foreign volunteer work for the development of the volunteer system in Thailand. Bangkok: Thai Health Promotion Foundation. (in Thai)
Klaiudom, P. et. al (2012). Tourism promotion strategy to create learning for voluteer tourists. The Thailand Research Fund(TRF) (in Thai)
Manager online. (2017). Available https://mgronline.com/politics/photo-gallery/9600000032639(in Thai) (20 August 2017)
Matthayomburuj, W. (2011). Guidelines for tourism route development for elderly tourists Case study of the area surrounding the Mae Moh Electricity Generating Authority Lampang. Academic Conference Khon Kaen University; “Future development of Thai rural areas: a stable foundation for sustainable national development” 27-29 January 2011: 189-193 (in Thai)
Prompak, C. (2013). Entering the aging society in Thailand. Available ibrary.senate.go.th/document/Ext6078/6078440_0002.PDF (27 August 2017) (in Thai)
Ratchawieng, A. (2017). Online advertising in tourism for the elderly. VRU research and development journal. Vol12(1) (January-April 2017) (in Thai)
Rattanaphaitoonchai, J. (2014). Elderly tourist market: Thai new opportunities to grow for the AEC. Available http://www.itd.or.th (27 August 2017) (in Thai)
Rewtrakulphaibul, W. (2014). Tourist Behavior. (5th edition). Pathumthani: Bangkok University. (in Thai)
Sommitr, K. and Boonpaisarnsatit, N. 2013. Guidelines for Volunteer Tourism Development in the Upper North of Thailand. FEU Academic Vol.7(1) June-November, 2013. 47-58. (in Thai)
Sriampornekkul, L. (2018). Quality tourism for elderly tourists. Journal of Humanities and Social Sciences, Rajapruk University. Vol.4(1) (February-May 2018). 12-28 (in Thai)
Suanpleng, P. (2016). Development of Service Tourism in Sanook Province Cluster( Sakonnakhon-Nakhonpanom-Mookdahan). Bangkok. The Thailand Research Fund(TRF) (in Thai)
Suwannarat, S. (2015). Guidelines for the development of participatory tourist attractions between elderly tourists and communities in the upper northern tourist attractions. National Research Council of Thailand and The Thailand Research Fund(TRF) (in Thai)
Thamsane, S. (2012). Service management model for the elderly in Thailand. FEU Academic Review. 6(1), 88-99 (in Thai)
Thongpang, P. (2011). Tourism Business Development Model for the Elderly: A Case Study of the Elderly in the Central Region. Journal of Srivanalai Vijai. Vol1(2) (in Thai)
Tunsawat, K and Noo-im, B. (2014). Supporting factors and wellness that elderly people receive from volunteering in Chon Buri Hospital. Journal of Humanities and Social Sciences. Vol.22(39) (May-August 2014). 263-277 (in Thai)
Watthanakamolchai, S. and Yim-on, Y. (2010). Elderly tourists: Potential target group. Panyapiwat Journal, 2(1), 95-103 (in Thai)
Way magazine. (2017). Aging Society & Slow life crisis. Available https://waymagazine.org/aging_society/(in Thai) (28 August 2017)