ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเพิ่มยอดขายของร้านค้าปลีก ยุคไทยแลนด์ 4.0 กรณีศึกษา ร้านค้าธงฟ้าประชารัฐบริการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ เขตพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาคุณลักษณะผู้ประกอบการเชิงรุกที่ส่งผลต่อการเพิ่มยอดขายของร้านค้าปลีก ยุคไทยแลนด์ 4.0 กรณีศึกษาร้านธงฟ้าประชารัฐบริการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 2) ศึกษาเครือข่ายผู้ประกอบการร้านค้าธงฟ้าประชารัฐที่ส่งผลต่อการเพิ่มยอดขายของร้านค้าปลีก ยุคไทยแลนด์ 4.0 กรณีศึกษาร้านธงฟ้าประชารัฐบริการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 3) เพื่อศึกษาช่องทางการจัดจำหน่ายที่ส่งผลต่อการเพิ่มยอดขายของร้านค้าปลีก ยุคไทยแลนด์ 4.0 กรณีศึกษาร้านธงฟ้าประชารัฐบริการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ประกอบร้านค้าธงฟ้าประชารัฐในเขตพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 320 คน การศึกษาใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างตามความสะดวก เครื่องมือในการทำวิจัยใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติอนุมาน การวิเคราะห์การถดถอย ผลการศึกษาพบว่า ช่องทางการจัดจำหน่ายที่ส่งผลต่อการเพิ่มยอดขายของร้านค้าปลีก ยุคไทยแลนด์ 4.0 กรณีศึกษาร้านธงฟ้าประชารัฐบริการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ส่วนคุณลักษณะผู้ประกอบการเชิงและเครือข่ายผู้ประกอบการร้านค้าธงฟ้าประชารัฐไม่ส่งผลต่อการเพิ่มยอดขายของร้านค้าปลีก ยุคไทยแลนด์ 4.0 กรณีศึกษาร้านธงฟ้าประชารัฐบริการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ การวิจัยนี้ทำให้เกิดองค์ความรู้เกี่ยวกับการปรับตัวของผู้ประกอบการร้านค้าปลีกในยุคไทยแลนด์ 4.0 ที่จะต้องมีการบริหารร้านค้าแบบบูรณาการทั้งการพัฒนาความรู้ความสามารถของผู้ประกอบการ การจัดหาสินค้าที่มีคุณภาพและมีความหลากหลาย ผู้ประกอบการร้านค้าธงฟ้าประชารัฐควรมีการจัดทำข้อมูลบริหารร้านค้าเพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการลดต้นทุนและทำให้ยอดขายของร้านเพิ่มขึ้น
Article Details
References
จาก https://www.dbd.go.th/download/article/article_20190919090631.pdf
ชัญญาภัค หล้าแหล่ง, เชษฐ์ ใจเพชร และวิชชุดา เอื้ออารี. (2561). การสร้างเครือข่ายทางธุรกิจกับความได้เปรียบ
ทางการแข่งขันของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่จังหวัดชุมพร. Veridian E-Journal, Slipakorn
University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ (ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เดือน
พฤษภาคม –สิงหาคม 2561) : 3447-3461.
วลัย ซ่อนกลิ่น. (2562). กลยุทธ์การค้าปลีกที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการค้าปลีก
วัสดุก่อสร้าง ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. (ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม- ธันวาคม 2562)
วรมรรณ นามวงศ์, ประภัสสร วรรณสถิต, กัญญ์พัสวี กล่อมธงเจริญ และ ชัยวัฒน์ ใบไม้. (2562). คุณลักษณะการ เป็นผู้ประกอบการของเจ้าของธุรกิจค้าปลีกที่เข้าร่วมโครงการธงฟ้าประชารัฐ กรณีศึกษา : พื้นที่
ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ . ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม –
มิถุนายน ปี 2562) : 48-59.
สุธีรา อะทะวงษา. (2556). คุณลักษณะของการเป็นผู้ประกอบการและลักษณะของสถานประกอบการที่มีผลต่อ
การเจริญเติบโตของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฏีบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
สุจินดา เจียมศรีพงษ์. (2554). ธุรกิจค้าปลีกแบบดั้งเดิม (ร้านโชห่วย) : ปัญหาและทางแก้ไข. วารสารวิทยาการ
จัดการและสารสนเทศศาสตร์. ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม 2553- มีนาคม 2554).
สำนักโฆษก สำนักเลขาธิการสำนักนายกรัฐมนตรี. (2561). มาตรการ สวัสดิการแห่งรัฐ นวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหา
ความยากจน. วารสารไทยคู่ฟ้า. (ฉบับเดือนเมษายน - มิถุนายน 2561) : 6-12.
กลุ่มกำกับและพัฒนาเศรษฐกิจการค้า. (2562). ร้านธงฟ้าประชารัฐ. บุรีรัมย์.
สำนักพาณิชย์จังหวัดบุรีรัมย์.
อิษณาติ วุฒิธนากุล. (2561). ร้านสะดวกซื้อ…มาแรง เจาะทุกพื้นที่ ชิงลูกค้าไฮเปอร์มาเก็ต. คอลัมน์จับกระแส
ตลาดประชาชาติออนไลน์. สืบค้น 16 เมษายน 2563, จาก https://www.prachachat.net
facebook- instant-article/news-137630
Aaker, Da, (1988).Strategic Market Management. (2nd ed.), New York, John Wey & Sons.
Hair, J.,Black, W. Babin, B. & Anderson, R. (2014). Multivariate Data Analysis. 6th ed. New Jersey
: Pearson Prentice Hall International, Inc.
Lumpkin, G. T., Cogliser, C. C., & Schneider, R. D. (2009). Understanding and Measuring Autonomy : An Entrepreneurial Orientation Perspective. Entrepreneurship Theory and Practice, 47-69
Lumpkin, G., & Dess, G. (1996). Clarifying the entrepreneurial orientation construct and linking it to performance. Academy of Management Review, 135-172.
Nunnally, J. C. & Bernstein,I. H. (1994). Psychometric Theory. New York. McGraw-Hill.
Phong-inwong, R., Kwangkhankrai,T. (2013). Transformations Leadership,
Policy of Government, Social Responsibility and Community Performance: Evidence
from Community of Municipality Buriram. Thailand. European Journal of
Management,81-90.
Phong-inwong, R. (2013). Transformational Leadership, Intelligent Technology
Utilization and Firm Performance: The Case Study of the Transportation Businesses in Thailand. Journal of International Management Studies.13(2),67-76.
Porter, M.E., Competitive Strategy: Techniques for Analysing Industries and Competitors,
Free Press, New York, 1980.
Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis (3rd). New York. Harper and Row
Publications.
Translated Thai References
Aaker, D. (1988). Strategic Market Management. (2nd ed.), New York , John Wey & Sons.
Chanyaphak Laleang, Chest Chaiphet and Withchuda Uea-aree. (2018). Business Networking
Development and Competitive Advantage of Community Enterprise in Chumphon
Province. Veridian E-Journal , Silpakorn University. 3447-3461.
Department of Business Development. (2019). Smart – retail. Ministry of Commerce.
Retrieved on 16 April 2020, from
https://www.dbd.go.th/download/article/article_20190919090631.pdf
Government Sporkesperson, The Secretariat of the Prime Minister. (2018). State welfare measures Innovation to
Solve Problems Poverty. Thai Khu Fah Junal. 6-12.
Phong-inwong, R., Kwangkhankrai,T. (2013). Transformations Leadership,
Policy of Government, Social Responsibility and Community Performance: Evidence
from Community of Municipality Buriram. Thailand. European Journal of
Management,81-90.
Phong-inwong, R. (2013). Transformational Leadership, Intelligent Technology
Utilization and Firm Performance: The Case Study of the Transportation Businesses in Thailand. Journal of International Management Studies.13(2),67-76.
Porter, M.E. (1980).Competitive Strategy: Techniques for Analysing Industries and Competitors,
Free Press, New York.
Hair, J.,Black, W. Babin, B. & Anderson, R. (2014). Multivariate Data Analysis. 6th ed. New Jersey
, Pearson Prentice Hall International, Inc.
Isanati Wutthanakul. (2018). Convenience store ... Hot Penetrate all areas Compete for
hypermarkets. Jabkasae Column, Prachachatonline marketing. Retrieved on 16 April 2020, from https://www.prachachat.net facebook- instant-article/news-137630
Lumpkin, G. T., Cogliser, C. C., & Schneider, R. D. (2009). Understanding and Measuring Autonomy : An Entrepreneurial Orientation Perspective. Entrepreneurship Theory and Practice, 47-69.
Lumpkin, G., & Dess, G. (1996). Clarifying the entrepreneurial orientation construct and linking it to performance. Academy of Management Review, 135-172.
Nunnally, J. C. & Bernstein,I. H. (1994). Psychometric Theory. New York. McGraw-Hill.
Sujinda Chemsripong. (2010). Traditional Trade: Problem and Solution. Journal of MIS of
Naresuan University. 6(1), 48-59.
Sutheera Atawongsa. (2013). The Effects of Entrepreneurial Orientation and Enterprise
Characteristics Toward Thai. Business Admisnistation Program, Dhurakij Pundit University.
Trade and Economic Development Supervision Group. (2019). Blue Flag Shop. Buriram. Office of
Provincial Commercial Affairs Buriram.
Walai Sornklin. (2010). Retail Strategies Leading to the Success of Business Operations of Retail
Buildiing Materials Business in Bangkok. Humanities and Social Sciences Journal, Ubon
Ratchathani Rajabhat University. 10(2), 234-247.
Worraman Namwong, Kunpatsawee Khomthongjaroen and Chaiwat Baimai. (2019).
Entrepreneurial Orientation of Retail Business Owners Participating in the Blue Flag
Project in the Upper Northern Region of Thailand. MJU Academic Review. 1 (1), 48-59.
Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis (3rd). New York. Harper and Row
Publications.