ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยวเขาศูนย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช

Main Article Content

เพียงใจ คงพันธ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อการ
ท่องเที่ยวเขาศูนย์และ 2) เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยวเขาศูนย์
จำแนกตามเพศ อายุ สถานภาพ อาชีพ และรายได้ ระเบียบวิธีที่ใช้ในการวิจัย คือ การวิจัยเชิงปริมาณ
(Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยว
เขาศูนย์ จำนวน 384 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม
จำนวน 1 ฉบับ โดยสร้างเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่
ค่าร้อยละ ค่าคะแนนเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และการวิเคราะห์แบบ ANOVA ใช้ F-test
(One-way ANOVA)
ผลการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยวเขาศูนย์
ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยวเขาศูนย์
ที่ถูกจำแนกตามเพศและอาชีพ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว
ชาวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยวเขาศูนย์ถูกจำแนกตามอายุ สถานภาพ และรายได้ แตกต่างกันด้านบริการและ
ความปลอดภัย ด้านสิ่งอำนวยความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยว และด้านการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวแตกต่างกัน
สำหรับด้านสถานที่ท่องเที่ยวมีความพึงพอใจไม่แตกต่างกัน แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว หน่วยงานที่
เกี่ยวข้องต้องปรับปรุงให้มีสิ่งอำนวยความสะดวก และสามารถเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวนั้นได้อย่างเต็ม
ประสิทธิภาพ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัลยารัตน์ ศิริรัตน์. (2559). การจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของจังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์, 8(1), 1-8.
ชูใจ คูหารัตนไชย. (2542). สถิติเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: ภาควิชาสถิติประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์. (2560). การส่งเสริมตลาดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในประเทศไทย. วารสารอิเล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม, 7(2), 103-117.
ฐานเศรษฐกิจ. (2563). เที่ยว “เขาศูนย์” นิวนอร์มอลสุดไฉไลชมทะเลหมอก. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2563, จากhttps://www.thansettakij.com/content/normal_news/441473
__________. (2562). OUTLOOK ‘ท่องเที่ยวปี 62’. สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2563, จาก https://www.thansettakij.com/content/business/367461
นันทิตา เพชราภรณ์. (2558). พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยวเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 7(ฉบับพิเศษ), 63-72.
พิชญา ดวงฟู. (2559). การศึกษาพฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยในการเดินทางมาท่องเที่ยวจังหวัดลำปาง. กรุงเทพฯ: ปริญญานิพนธ์ ศศ.ม. (การจัดการอุตสาหกรรมบริการและการท่องเที่ยว). : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
พุทธพร โคตรภัทร. (2562). การศึกษาพฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยเพื่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวตามรอยภาพยนตร์ Alexander จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 10(2), 158-171.
วนาลี วิริยะพันธุ์. (2563). ความพึงพอใจของผู้มาเยือนที่มีต่อการจัดการท่องเที่ยวของอุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 11(1), 232-244.
แวณรัฐ เทพวัลย์. (2559). ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวต่อปัจจัยที่ส่งผลการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ หัวหิน ซาฟารี แอนด์ แอทเวนเจอร์ พาร์ค จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา, 6(1), 73-83.
สุวิมล ติรกานันท์. (2557). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรรทวิท ศิลาน้อย. (2562). ความต้องการด้านสิ่งอำนวยความสะดวกของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวในพระบรมธาตุนาดูน สำหรับการท่องเที่ยว เพื่อคนทั้งมวล. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 10(2), 130-143.
Cochran, W.G. (1977). Sampling Techniques. 3d ed. New York: John Wiley and Sons Inc.

Translated Thai References

Cochran, W.G. (1977). Sampling Techniques. 3d ed. New York: John Wiley and Sons Inc.
Duangfu, P. (2016). The Study of Tourist Behavior and Satisfaction a Case Study of Thai Tourists in Lampang Province.Thesis Master of Arts,Hospitality and Tourism Industry Management. Bangkok: The Graduate School, Bangkok University.
Khottaphat, P. (2019).The Behavior and Satisfaction of Thai Tourists for developed Flim Destination the Alexander Movie in Ubon Ratchathani. Humanities and Social Sciences Journal Ubon Ratchathani Rajabhat University, 10(2), 158-171.
Kuharattanachai, C. (1999). Introduction to Statistics. Bangkok: Department of Applied Statistics Mahanakorn University of Technology.
Petcharaporn, N. (2015). The Behavior and Satisfaction of Thai Tourists on Visiting Koh Kret (Kret Island, Nonthaburi Province. Panyapiwat Journal, 7(Special Issue). 63-72.
Silanoi, A. (2019). The Facilities requirements of tourists traveling to
Phra Boromma That Nadun for tourism for all. Humanities and Social Sciences Journal Ubon Ratchathani Rajabhat University, 10(2), 130-143.
Sirirat, K. (2016). Eco-tourism management of Nakhon Si Thammarat Province. Narkbhut Paritat Journal, 8(1), 1-8.
Songsunthornwong, C. (2017).Market Promotion for Ecotourism in Thailand. http://e-jodil.stou.ac.th, 7(2), 103-117.
Thansettakij. (2020). Travel “Khao Soon” the most wonderful new normal sea of mists . Retrieved 15 15 July 2563, from https://www.thansettakij.com/content/normal_news/441473
__________. (2562). OUTLOOK ‘Travel Year 19’ . Retrieved 3 January 2563, from https://www.thansettakij.com/content/business/367461
Thepwan, W. (2016). Tourists’ Opinion toward Factors Affecting Ecotourism of Hua Hin Safari and Adventure Park, Prachuap Khiri Khan Province. The Journal of Development Administration Research, 6(1), 73-83.
Tirakanant, S. (2014). Social science research methods: guidelines for practice.
(12th ed). Bangkok. Chulalongkorn University.
Wiriyapan, W. (2020). Visitor’s Satisfaction on Tourism Management of Kaeng Tana National Park, Ubon Ratchathani Province. Humanities and Social Sciences Journal Ubon Ratchathani Rajabhat University, 11(1), 232-244.