ผ้าขาวม้า: คุณค่าและความหมายจากทุนทางวัฒนธรรมสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์

Authors

  • Kasidesh Nerngchamnong มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์

Keywords:

Loincloth, Creative economy, Cultural capital

Abstract

บทความนี้มุ่งศึกษาคุณค่าและความหมายผ้าขาวม้าซึ่งเป็นของมรดกภูมิปัญญาและทุนทางวัฒนธรรมที่นำมาสร้างมูลค่าเพิ่ม การประเมินคุณค่าและความหมายของมรดกทางวัฒนธรรมเป็นกระบวนการหนึ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม โดยนำข้อมูลมาวิเคราะห์ตามกรอบแนวคิดของวิลเลียม ดี ไลป์ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า คุณค่าและความหมายของผ้าขาวม้ามีลักษณะเป็นพลวัตกล่าวคือมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นคุณค่าและความหมายของผ้าขาวม้าในด้านต่าง ๆ ได้แก่ คุณค่าเชิงสัญลักษณ์ คุณค่าเชิงวิชาการ คุณค่าเชิงสุนทรียะ และคุณค่าเชิงเศรษฐกิจ 

 

LOINCLOTH: VALUES AND MEANINGS FROM CULTURAL CAPITAL TO CREATIVE ECONOMY

This article focuses on the values and meanings of loincloth, a legacy of intangible cultural heritage and cultural capital that brings added value. Significant of values and meanings of cultural heritage is a process that is crucial to the management of cultural resources. The data were analyzed based on the concept of William D. Lipe. The result of study reveals that the values and meanings of the loincloth is a dynamic that is changing all the time, except to show that loincloth has values and meanings in various areas, including the value of symbolic/associative value, academic value, aesthetic value and economic value.

Downloads

Published

2017-06-01

How to Cite

Nerngchamnong, K. (2017). ผ้าขาวม้า: คุณค่าและความหมายจากทุนทางวัฒนธรรมสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์. Fine Arts Journal: Srinakharinwirot University, 21(1), 84–93. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/jfofa/article/view/92889