แนวทางการจัดการเรียนการสอนศิลปะหลังสมัยใหม่ (Post-modern Art) ในระดับชั้นมัธยมศึกษา
Keywords:
การจัดการเรียนการสอน, พหุศิลปศึกษา, ศิลปะหลังสมัยใหม่, มัธยมศึกษา, teaching and learning, Arts Education, Post-Modern Art, Secondary EducationAbstract
กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคโลกาภิวัฒน์ และพัฒนาการอย่างก้าวกระโดดในด้าน ต่างๆ ทุกภาคส่วนรวมทั้งศิลปะ ทำให้เราต้องปรับตัวไปสู่การศึกษาเพื่อเรียนรู้และเท่าทันการเปลี่ยนแปลงการอยู่ร่วมกันเป็นสังคมโลก แนวคิดศิลปศึกษาแบบดั้งเดิมถูกพัฒนามาเป็นแนวคิดพหุศิลปศึกษาที่บูรณาการแนวคิดและการสร้างสรรค์ศิลปะที่มากมายหลายหลาก บนฐานความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการสุนทรียะที่สะท้อนตัวตน สังคมและวัฒนธรรม แนวคิดศิลปะหลังสมัยใหม่จึงเป็นกลไกหนึ่งที่ถูกหยิบยกมา พัฒนาสู่หลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนการสอนในแนวคิดพหุศิลปศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม)
APPROACH TO LEARNING AND TEACHING POST-MODERN ART IN SECONDARY EDUCATION
The current change in the world of globalization and rapid development in all aspects including arts leads us to adapt to the study in order to learn the would social coexistence. Concept Art Education was originally developed to Arts Education integrated with concept and creation based on creative thinking, imagination, aesthetic reflected itself, society and culture. Post-modern Art concept is one of the strategies in order to develop curriculum, teaching and learning process in multi-concept art in high school Srinakharinwirot university prasarnmit demonstration school (secondary).