A Study of Pratomsuksa 4 Students’ Multiple Intelligences, Before and After Learning with Visual Art Learning Integration Package

Authors

  • Atchara Pornnimit Srinakharinwirot University

Abstract

The objectives of this research are to study and compare students’ four aspects of multiple intelligences namely linguistic intelligence, spatial intelligence, logic - mathematical intelligence, and naturalistic intelligence. The population of this research consists of 185 Pratomsuksa 4 students who were studying in the first semester at Pratoochai School, under Office of Phranakhon Si Ayutthaya Educational Area 1. The students were classified into three groups - excellent and good, fairly, and poor (the numbers of the members of each group were 78, 85, and 22 respectively) - according to their learning achievement in 8 subject groups in the 2007 academic year. Integrated Visual Art Activities Set (IVAS), Integrated Visual Art Activities Set Plan (IVASP), Integrated Visual Art Activities Set Test (IVAST) evaluate students’ four aspects of multiple intelligence were used in data collection. Frequency, percentage, mean, standard deviation, t - test, and one -way ANOVA comparison were used in data analysis.

The findings indicated that;

1.) After participating in Integrated Visual Art Activities Set Plan (IVASP), the students in all groups apparently possessed higher multiple intelligence in all aspects. It was also found that multiple intelligences in all aspects of the students in each group were different at the statistical significance level of 0.01

2.) According to the comparison analysis result with the visual art learning integration package to analyze deviation of overall multiple intelligence among each group, it was found that multiple intelligence in all aspects of the students in each groups was different at the statistical significance level of 0.01

3.) According to the paired study results, the students in the first group (excellent and good) possessed higher multiple intelligences in all aspects than those in the second (fairly) and third (poor) groups at the statistical significance level of 0.01. Meanwhile, the students in the second group apparently possessed higher multiple intelligences in all aspects than those in the third group at the statistical significance level of 0.01.

 

การศึกษาความสามารถทางพหุปัญญาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมทัศนศิลป์แบบบูรณาการ

การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา และเปรียบเทียบความสามารถทางพหุปัญญา 4 ด้าน คือ ความสามารถ ด้านภาษา ด้านมิติสัมพันธ์ ด้านตรรกะและคณิตศาสตร์และด้านธรรมชาติวิทยาของนักเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ ศึกษา เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนประตูชัย สำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 จำนวน 185 คน โดยแบ่งนักเรียนตามระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยของนักเรียนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ในปีการศึกษา 2550 เป็น 3 กลุ่ม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระดับ ดีและดีมาก พอใช้และ ควรปรับปรุง จำนวน 78 คน 85 คน และ 22 คน ตามลำดับ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แผนการจัดการเรียนรู้ชุด กิจกรรมทัศนศิลป์แบบบูรณาการ ชุดกิจกรรมทัศนศิลป์แบบบูรณาการ และแบบทดสอบชุดกิจกรรมทัศนศิลป์แบบบูรณาการ เพื่อประเมินความสามารถทางพหุปัญญา 4 ด้าน สถิติที่ใช้ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ ทดสอบที(t - test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One -Way Analysis of Variance: ANOVA) ผล การวิจัยพบว่า

1. หลังการศึกษาชุดกิจกรรมทัศนศิลป์แบบบูรณาการในภาพรวม นักเรียนทั้ง 3 กลุ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มี ความสามารถทางพหุปัญญาทั้ง 4 ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (p < .01) ความสามารถทางพหุ ปัญญาทุกด้าน หลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้

2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบความสามารถทางพหุปัญญาของนักเรียน โดยใช้ชุดกิจกรรมทัศนศิลป์แบบ บูรณาการระหว่างกลุ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในภาพรวมทุกด้าน เพื่อวิเคราะห์ความแปรปรวนด้านความสามารถทาง พหุปัญญาของนักเรียนระหว่างกลุ่มทุกด้าน ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (p < .01)

3. ผลการศึกษาข้อมูลรายคู่ นักเรียนกลุ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระดับดีและดีมาก มีความสามารถทาง พหุปัญญาทั้ง 4 ด้านในภาพรวมสูงกว่า นักเรียนกลุ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระดับพอใช้และควรปรับปรุง อย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรียนระดับกลุ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระดับพอใช้มีความสามารถทางพหุปัญญาใน ภาพรวมทุกด้านสูงกว่านักเรียนกลุ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ควรปรับปรุง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Downloads

Published

2011-10-11

How to Cite

Pornnimit, A. (2011). A Study of Pratomsuksa 4 Students’ Multiple Intelligences, Before and After Learning with Visual Art Learning Integration Package. Fine Arts Journal: Srinakharinwirot University, 13(2), 68–74. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/jfofa/article/view/93051