Political Economy of Primitive Accumulation: A Case Study of the Land Dispossession of Amata Nakorn Industrial Estate in Chon Buri Province

Authors

  • Sakda Silakorn M.A. Student of Political Economy and Governance, Faculty of Political Science and Laws, Burapha University

Keywords:

Primitive Accumulation, Land Dispossession, Industrial Estate, Industrialization

Abstract

This paper focusing on factors that affect its process and also all stakeholders in the process. Given the foregoing, the study finds three main factors that involve in the process precipitating contention over land: the ideology of development of Thai state; the network system between business (private) and public sectors; and the class cleavage in local societies. The first factor hinges on the formation of force that produces a hegemonic power in terms of the developmental approach, i.e. the driving of industrial development, the developmental policies of economy and economic areas, the policies on the industrial estate and private sectors, and the investment promotion policies. The second factor is the joint activities between capital (private enterprises) and state power by building a good relationship between people, organizations, and all other groups. This particularly involves with the development of industrial estate managed by Mr. Vigrom Grompradit and the seeking of interests by the state power network through governmental officers and politicians. The last factor refers to the extirpation and the less important of agriculture sectors in local societies, which loosen and break the unity of local communities on the grounds of economic and social relations. This leads to the class cleavage of the local people which provides a chance to Amata Corporation Public Company Ltd in land grabbing. Regarding the stakeholders of the land contention, four key actors are involved: state mechanisms; transnational capital; state capital; and local capital. The first actor focuses on the roles of state in public policy making and the operation of public organizations that results in land grabbing. The second stakeholder supports the foreign investment to industrial enterprises and estates from the backstage. The third stakeholder is the main actor in the land contention of Amata Nakorn Industrial Estate. The final actor is the groups of local people in the industrial estate that act as a supporter, bargaining and resistance to the industrial estate.

References

เอกสารภาษาไทย

กนกพร ดิษฐปราณีต. (2542). ปัญหาทางกฎหมายในการร่วมดำเนินงานเพื่อจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยกับภาคเอกชน. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. (2556). คู่มือการเสนอโครงการจัดตั้งหรือขยายนิคมอุตสาหกรรมร่วมดำเนินงาน. กรุงเทพฯ: การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย.

ชัยณรงค์ เครือนวน. (2550). เศรษฐศาสตร์การเมืองของการพัฒนาอุตสาหกรรมในจังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัญฑิต, สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชัยณรงค์ เครือนวน. (2558). ปฏิบัติการและการต่อสู้ทางวาทกรรมในการพัฒนาอุตสาหกรรม: ศึกษากรณีการพัฒนาอุตสาหกรรมภายใต้ตัวแบบมาบตาพุด. ดุษฎีนิพนธ์รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ, คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชัยยนต์ ประดิษฐศิลป์. (2558). “การพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างอำนาจของชุมชนท้องถิ่นในภาคตะวันออก.” วารสารพัฒนาสังคม, 17 (1): 65-87.

ณัฐวุฒิ สวนเมือง. (2548). บทบาทของนิคมอุตสาหกรรมเอกชนที่มีต่อการจัดปัญหาสิ่งแวดล้อมของชุมชน: กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี. งานนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ธนรัตน์ ภู่พวง. (2558). ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับผลกระทบจากนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครที่มีผลต่อชุมชน: กรณีศึกษาชุมชนคลองตำหรุ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. งานนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ, คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ธีระพงษ์ เขมฤกษ์อำพล. (2537). การพัฒนาเศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศของประเทศไทย. ใน การค้าและการเงินระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : ซีเอ๊ดยูเคชั่น.

นิชาภัทร ไม้งาม. (2557). สิทธิชุมชนและการมีส่วนร่วมภายใต้กระบวนการพัฒนา กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมือง, คณะเศรษฐศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชั่น. (2558). รายงานประจำปี 2558. กรุงเทพฯ: อมตะ คอร์ปอเรชั่น.

_______. (2559). รายงานประจำปี 2559. กรุงเทพฯ: อมตะ คอร์ปอเรชั่น.

_______. (2560). รายงานประจำปี 2560. กรุงเทพฯ: อมตะ คอร์ปอเรชั่น.

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การเปลี่ยนแปลงเขต เขตอุตสาหกรรมทั่วไป นิคมอุตสาหกรรมบางปะกง. (2535, 22 กันยายน). ราชกิจจานุเบกษา (หน้า 10288-10289).

ประกาศคณะกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เรื่อง การเปลี่ยนแปลงเขต เขตอุตสาหกรรมทั่วไป นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร (ฉบับที่ 23). (2556, 18 มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. หน้า 17-18.

ปวีณา คานประเสริฐ. (2558). ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับผลกระทบจากนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครที่มีต่อชุมชนในเขตตำบลบ้านเก่า อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี. งานนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองและการบริหารจัดการ, คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

พัชรี โพธิหัง. (2550). ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครที่ส่งผลต่อชุมชนตำบลดอนหัวฬ่อ อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี. งานวิจัยรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชานโยบายสาธารณะ, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิกรม กรมดิษฐ์. (2561). คิดรวบแบบวิกรม. กรุงเทพฯ: พริ้นท์ ซิตี้.

วิเชียร อินทะสี. (2542). “บทบาทของญี่ปุ่นต่อโครงการพัฒนาชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก.” วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา, 10 (1): 37-62.

วิบูลย์ กรมดิษฐ์. (2551). ความพึงพอใจของผู้ประกอบการต่อการให้บริการของนิคมอุตสาหกรรม: กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร พ.ศ. 2551. งานนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาบริหารจัดการสาธารณะ, คณะรัฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สมจิตต์ วงศ์อินทร์. (2545). ผลกระทบที่มีต่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบริการทางสังคมอันเนื่องมาจากปัญหาการเคลื่อนย้ายแรงงานในภาคตะวันออก กรณีศึกษาพื้นที่โดยรอบนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขานโยบายสาธารณะ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุรพงษ์ ญัตติณรงค์. (2555). ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการขยายเขตโครงการนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร แห่งที่ 2. งานนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรเพื่อความมั่นคง, คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน. (2560). รู้จักบีโอไอ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน.

องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเก่า. (2559). แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี. ชลบุรี: องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเก่า.

ข้อมูลการสัมภาษณ์

นักเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมท้องถิ่นชนบทและสิทธิชุมชน. (2562, 12 กุมภาพันธ์). สัมภาษณ์.

ผู้นำชุมชนตำบลบ้านเก่า. (2560, 9 มิถุนายน). สัมภาษณ์.

ผู้นำชุมชนตำบลมาบโป่ง. (2561, 16 ธันวาคม). สัมภาษณ์.

Downloads

Published

2020-01-31

Issue

Section

Research Articles