การบริหารความเสี่ยงด้วยตราสารอนุพันธ์: กรณีศึกษานโยบายจำนำข้าว

Authors

  • อาณัติ ลีมัคเดช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Keywords:

บริหารความเสี่ยง, ตราสารอนุพันธ์, จำนำข้าว, Risk Management, Financial Derivative, Rice Pledging Scheme

Abstract

บทคัดย่อ

การป้องกันความเสี่ยงด้วยตราสารอนุพันธ์มักจะถูกนำมาใช้ในการป้องกันปัจจัยเสี่ยงเดียวด้วยการกำหนด Optimal Hedge Ratio ของสัญญาอนุพันธ์ที่มีสินทรัพย์มูลฐานใกล้เคียงกับสินทรัพย์ที่ต้องการป้องกันความเสี่ยง การศึกษานี้เสนอวิธีการคำนวณ Optimal Hedge Ratio เพื่อป้องกันความเสี่ยงพร้อมกันสองปัจจัย โดยใช้นโยบายรับจำนำข้าวของรัฐบาลไทยในช่วง พ.ศ. 2540 ถึง พ.ศ. 2556 เป็นกรณีศึกษา ผลการป้องกันความเสี่ยงพบว่าการใช้ตราสารอนุพันธ์สามารถป้องกันการขาดทุนที่เกิดจากโครงการได้ อย่างไรก็ตามหากรัฐบาลกำหนดให้ราคารับจำนำอยู่ที่ระดับ 1.5 เท่าของราคาตลาด ต้นทุนการป้องกันความเสี่ยงจะสูงถึงประมาณ 30% ของราคารับจำนำ

คำสำคัญ: บริหารความเสี่ยง ตราสารอนุพันธ์ จำนำข้าว

 

Abstract

Using financial derivative to manage risk usually deals with one risk factor due to the complexity of calculating the optimal hedge ratio.  This study shows how to calculate the optimal hedge ratio to manage two market risks simultaneously.  The study illustrates by the case study of Thai rice pledging scheme during 1997-2013.  The results show that the derivatives can be used effectively to mitigate loss.  If the pledging price is set at 1.5 times of the spot price, however, the hedging cost will be as high as 30% of the pledging price.

Keywords: Risk Management, Financial Derivative, Rice Pledging Scheme

Author Biography

อาณัติ ลีมัคเดช, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

Downloads

Published

2015-04-30

How to Cite

ลีมัคเดช อ. (2015). การบริหารความเสี่ยงด้วยตราสารอนุพันธ์: กรณีศึกษานโยบายจำนำข้าว. Creative Business and Sustainability Journal, 37(1), 27–55. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/CBSReview/article/view/33414