ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 ในเขตอำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในการบริหารงานวิชาการ
ของสถานศึกษาในเขตอำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม ่ เก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยใชแ้ บบสอบถามจากกลุม่ ตัวอยา่ ง
ที่เป็นครูผู้สอนของสถานศึกษาในเขตอำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2557 จำนวน 169 คน
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบ
สัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างจากครูผู้สอนที่รับผิดชอบที่งานวิชาการของสถานศึกษา จำนวน 3 คน วิเคราะห์
ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้นำผู้บริหารสถานศึกษาในการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในเขต
อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม ่โดยรวม มีภาวะผูน้ ำแบบสนับสนุนและภาวะผูน้ ำแบบมีสว่ นรว่ มโดยมีคา่ เฉลี่ยสูงสุด
รองลงมา ภาวะผู้นำแบบบงการ ส่วนภาวะผู้นำแบบเน้นความสำเร็จ มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน
มีรายละเอียดดังนี้ ดา้ นการพัฒนาหลักสูตร พบวา่ ภาวะผูน้ ำแบบบงการ มีคา่ เฉลี่ยสูงสุด สว่ นภาวะผูน้ ำแบบสนับสนุน
มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด ด้านการจัดการเรียนการสอน พบว่า ภาวะผู้นำแบบสนับสนุนและภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วม
มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ส่วนภาวะผู้นำแบบเน้นความสำเร็จมีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด ด้านการนิเทศการสอน พบว่า ภาวะผู้นำแบบ
บงการมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ส่วนภาวะผู้นำแบบเน้นความสำเร็จ มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด และด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา พบว่า ภาวะผู้นำแบบสนับสนุน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ส่วนภาวะผู้นำแบบเน้นความสำเร็จ มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด
This research aimed to investigate the leadership of school administrators in the academic
administration of the schools in Doi Saket District, Chiang Mai Province. The sample used in this study
were 169 school teachers in Doi Saket District, Chiang Mai Province in the academic year 2014 and got
data collection from the questionnaries. The data were analyzed through frequency, percentage and
standard deviation and collected by the unstructured interviews from 3 commissioned academic teachers
through a content analysis. The findings were as follows:
According to the leadership of school administrators in the academic administration of the schools
in Doi Saket District, Chiang Mai Province, it was found that supportive leadership and participative
leadership showed the highest mean. The following was directive leadership whereas achievementoriented
leadership indicated the lowest mean. When considering each aspect, the details were as follows.
The curriculum development showed that directive leadership presented the highest mean whereas
supportive leadership indicated the lowest mean. The learning and teaching management revealed that
supportive leadership and participative leadership had the highest mean while achievement-oriented
leadership showed the lowest mean. The supervision indicated that directive leadership had the highest
mean as achievement-oriented leadership showed the lowest mean. In addition, the quality education
development revealed that supportive leadership indicated the highest mean whereas achievementoriented
leadership showed the lowest mean.
Article Details
1. Any views and comments in the FEU Academic Review Journal are the authors’ views. The editorial staff have not to agree with those views and it is not considered as the editorial’s responsibility.
2. The responsibility of content and draft check of each article belongs to each author. In case, there is any lawsuit about copyright infringement. It is considered as the authors’ sole responsibility.
3. The article copyright belonging to the authors and the Far Eastern University are copyrighted legally. Republication must be received direct permission from the authors and the Far Eastern University in written form.