บทบาทสตรีในการบริหารองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเชียงราย
Main Article Content
Abstract
การศึกษาบทบาทของสตรีในการบริหารองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเชียงรายครั้งนี้
มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) บทบาทผู้บริหารสตรีขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่นจังหวัดเชียงราย
2) คุณลักษณะของความเป็นผู้นำสตรีของผู้บริหารองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเชียงราย และ
3) ปญั หาและขอ้ เสนอแนะบทบาททางการเมืองของสตรีในการบริหารองคก์ ารปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ จังหวัดเชียงราย
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการศึกษาข้อมูลจากเอกสารและการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก
วิคราะห์ข้อมูลโดยสรุปอธิบายเชิงพรรณนาวิเคราะห์
ผลการศึกษาพบว่า บทบาทผู้บริหารสตรีขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดหวัดเชียงราย
ผู้วิจัยค้นพบว่า การส่งเสริมการเผยแพร่บทบาทการทำงานของผู้หญิง มักจะไม่ได้รับการสนับสนุนและ
นำเสนอผลงานให้ปรากฏต่อสาธารณชน ความร่วมมือของทุกๆ ฝ่ายในการที่จะมาประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
บทบาทของผู้หญิงที่โดดเด่นออกสู่สาธารณชนจึงเป็นเรื่องที่สำคัญ การพัฒนาบุคลิกภาพของผู้บริหารสตรี
เริ่มต้นจากภาพลักษณ์ที่เราแสดงออกโดยสีหน้า กิริยาท่าทาง เครื่องแต่งกาย สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่บ่งบอก
ความเชื่อมั่นในภาพพจน์ของผู้บริหารสตรี และสามารถสร้างภาพลักษณ์ของผู้บริหารสตรีได้อย่างต่อเนื่อง
ตลอดเวลา ทาํ ใหผ้ รู้ ว่ มงานหรือประชาชน หนว่ ยงานอื่นๆ ยอมรับในบุคลิกภาพของผูบ้ ริหารสตรี ลกั ษณะของ
ผู้บริหารสตรีองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย มีความจริงใจและรักษาคำพูด ตั้งใจในการทำงานและ
พัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ประชาชนได้รับการยอมรับนับถือจากชาวบ้าน มุ่งมั่นและมีทัศนคติในการทำงานเพื่อ
ชมุ ชน มคี วามปรารถนาดีตอ่ ชุมชน สามารถในการทจี่ ะรวบรวมกลุม่ คน และสามารถถา่ ยทอดประเด็นปญั หา
และแสวงหาความร่วมมือ เพื่อแก้ปัญหาแก่ชุมชน จัดการและการให้บริการ มีเครือข่ายที่สามารถ
ขอความร่วมมือหรือความช่วยเหลือเพื่อสร้างประโยชน์สุขแก่ประชาชน หรือเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาพื้นที่
และมีภาวะผูน้ าํ สามารถตัดสินใจแกไ้ ขปญั หาไดอ้ ยา่ งเด็ดขาด รวดเร็ว และสามารถสงั่ การใหผ้ ใู้ ตบ้ งั คับบัญชา
ปฏิบตั ติ ามไดอ้ ยา่ งมีปะสิทธิภาพ โดยอยูบ่ นพนื้ ฐานของความถูกตอ้ งและประโยชนข์ องสว่ นรวม สาํ หรับปญั หา
และข้อเสนอแนะบทบาททางการเมืองของสตรี ในการบริหารองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเชียงราย
พบประเด็นปัญหาเรื่องของความรักสวยรักงาม ความไม่อดทนต่อความลำบากต่าง ๆ ในพื้นที่ การไม่กล้า
ตัดสินใจ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่ต้องการการตัดสินใจในภาวะเร่งด่วน การมีลักษณะของความเป็นคนละเอียด
จู้จี้ รวมถึงความไม่แข็งแรงของสภาพร่างกายเพื่อเปรียบเทียบกับเพศชาย เป็นต้น โดยในการหาแนวทาง
การแกไ้ ขปญั หาและอุปสรรคดังกลา่ วนนั้ ผใู้ หส้ มั ภาษณท์ กุ คนตา่ งไมไ่ ดต้ อ้ งการใหเ้ พศหญิงมีสภาพรา่ งกาย
ที่แข็งแรงเท่ากับเพศชายแต่อย่างใด เพราะทั้ง 2 เพศ มีลักษณะหรือข้อดีข้อเสียที่แตกต่างกัน โดยแม้เพศชาย
จะแข็งแรงกว่า แต่ก็มีความละเอียดรอบคอบน้อยกว่า
The study ofthe roles of women in Chiangrai local government organization administration
aims to 1) to investigate female roles in local administrative organization of Chiang Rai province;
2) to investigate leadership attributes of female leaders in local administrative organization of
Chiang Rai province; and 3) to investigate problems and recommendations regarding female roles
in administration of local administrative organizationin Chiang Rai province. This qualitative research
employed documentary analysis, observation, and in-depth interview for data collection and
narrative summary for data analysis.
The findings indicated that female leader roles in administration of local administrative
organization should be promoted and disseminated because the women often do not receive the
support to present their work to the public. Thus, gaining cooperation from all parties in order to
disseminate the prominent roles of the women to the public is so important. Development of
personality of female leaders should start from facial expression, gesture and costume. Because
they indicate confidence and create positive images of the female leaders which help them to get
accepted by their associates, the public and other agencies. Characteristics of female leaders in
the local administrative organizationin Chiang Rai province are,being sincere, keep their promises,
willingness to improve local people’s quality of life which help them to gain respect from local
people. They have a strong desire and positive attitudes to work for the communities. The female
leaders have ability to gather a group of people and convey the issues to seek for the cooperation
to solve the problems, manage and service. They have networks to assist or cooperate for benefit
of the community. They also have leadership attribute in making a decision decisively and quickly.
Finally, they give the order to their subordinates effectively based on righteousness and usefulness
of the communities. The problems of the female leaders in the local administrative organizationin
Chiang Rai province are, issue of beauty, being intolerable in the difficulties in the areas and
indecisiveness especially when the decision needed in emergent situations. Moreover, the female
leaders are detailed, nagging, and physical weak when compared with males. However, all informants
do not want to have physical strong as men. Because both female and male contains advantage
and disadvantage characteristics. Although, men are stronger, they are less careful than women.
Article Details
1. Any views and comments in the FEU Academic Review Journal are the authors’ views. The editorial staff have not to agree with those views and it is not considered as the editorial’s responsibility.
2. The responsibility of content and draft check of each article belongs to each author. In case, there is any lawsuit about copyright infringement. It is considered as the authors’ sole responsibility.
3. The article copyright belonging to the authors and the Far Eastern University are copyrighted legally. Republication must be received direct permission from the authors and the Far Eastern University in written form.
References
เกศรี วิวัฒนปฐพี. (2551). กระบวนการสร้างผู้นำสตรีในวัฒนธรรมอีสาน. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาไทศึกษา. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
กิจการสตรีและสถาบันครอบครัว, สำนักงาน. (2548) หนังสือชุดถามตอบเรื่องน่ารู้สำหรับผู้หญิง : ผู้หญิงกับความรุนแรง. กรุงเทพฯ : สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
ปฐมพงศ์ มโนหาญ. (2555). การเมืองเรื่องการเลือกตั้งบนวิถีความเปลี่ยนแปลงของสังคมชนบท (ปี พ.ศ. 2520 – 2554) : กรณีศึกษาตำบลบ้านดู่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยโครงการวิจัยมหาบัณฑิต สกว.
รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2551). ภาวะผู้นำาการเปลี่ยนแปลง Transformational Leadership Theory (ออนไลน์).เข้าถึงได้ จาก: ้http://202.28.8.55/HR/index.php?option=com_content&task=view&id=51&Itemid=15.
(2552, 22 พฤษภาคม).
ศุภพรรัตน์ สุขพุ่ม. (2547, กรกฎาคม). ความคิดเห็นของประชาชนกรุงเทพมหานครต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของสตรี. รัฐสภาสาร, 52(7), 141-157.
สถาบันพระปกเกล้า (2551) .บทความสตรีกับการตัดสินใจ. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น
สุกฤตา จินดาพรม และโชติมา แก้วกรอง. (2556). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของสตรีไทยในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ของภูมิภาคตะวันตก. วารสารการเมืองการปกครอง การจัดการชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (II), 3(2), 118-133.
อรรถจักร สัตยานุรักษ์. (2548). ระบอบทรัพย์สินในชนบทภาคเหนือของประเทศไทยในประวัติศาสตร์ความคิดไทยกับแนวคิดชุมชน. กรุงเทพฯ : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Likert, Rensis. (1967). “The Method of Constructing and Attitude Scale”. In Reading in Fishbeic,
M (Ed.), Attitude Theory and Measurement (pp. 90-95). New York: Wiley & Son.
Jame A Belasco, Ralph C. Stayer (1993 จาก http://cbae.nmsu.edu/~dboje/pages/fligh t_of_the_buffalo.htm
Rozeell, M. J. (2002). Helping women run and win: Feminist griups, candidate recruitment and training. Retrieved December, 18, 2014, from http://www.westga.edu/~wandp/abs21.htm
Sergiovanni, T. J., Kelleher, P., McCarthy, M. M., & Fowler, F. C. (2004). Educational governance and administration (5th ed.). Boston: Pearson Education.