การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นหัตถกรรม OTOP 5 ดาวกรณี สินค้าเรือใบจำลอง จังหวัดเชียงใหม่
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นหัตถกรรม OTOP 5 ดาว และ
เพอื่ ศึกษาการจัดการความรูภ้ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ หัตถกรรม OTOP 5 ดาวกรณี สนิ คา้ เรือใบจำลอง จงั หวัดเชียงใหม่
เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มหัตถกรรมจากไม้ แม่วินเรือจำลอง 101 หมู่ 9 ตำบลแม่วิน อำเภอแม่วาง
จงั หวัดเชียงใหม ่ โดยใชว้ ธิ กี ารสัมภาษณเ์ ชิงลึก และการสนทนากลุม่ ทาํ การสุม่ ตัวอยา่ งแบบเจาะจง โดยเลือก
คณะกรรมการและสมาชิกกลุ่ม 14 คน ที่ปรึกษากลุ่ม 4 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการบรรยายเชิงพรรณนา
ผลการศึกษาพบว่า 1) การศึกษาความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นหัตถกรรมเรือใบจำลองพบว่า ที่มาของ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ 1.1) มาจากความรู้ดั้งเดิมที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งเป็นความรู้
ที่เกี่ยวกับพื้นฐานในการดำรงชีวิตที่มีความสัมพันธ์กับวิถีธรรมชาติ 1.2) มาจากความรู้ใหม่ที่ประยุกต์
จากภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่รับการส่งเสริมและพัฒนาโดยหน่วยงานภาครัฐจากภายนอก ความรู้ทั้ง
2 ลักษณะนั้นมีที่มาที่สำคัญ คือ เป็นความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ ความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคล
ที่มีการฝึกฝนและปฏิบัติด้วยตนเอง ความรู้ที่ได้รับการสนับสนุนและส่งเสริมจากหน่วยงานภาครัฐ ความรู้
ที่มีการพัฒนามาเป็นความรู้เฉพาะกลุ่ม ความรู้ที่มีเอกลักษณ์กลุ่มบ่งบอกถึงความเป็นท้องถิ่นอย่างแท้จริง
และ 2) การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นหัตถกรรมเรือใบจำลองตามกรอบกระบวนการจัดการความรู้
มีดังนี้ 2.1) การบ่งชี้ความรู้เกี่ยวกับการกำหนดผลิตภัณฑ์ผ่านการคิดและตัดสินใจร่วมกันของสมาชิกกลุ่ม
2.2) การสร้างและแสวงหาความรู้ที่มาจากภายในกลุ่มและภายนอกเพื่อให้เกิดความรู้เฉพาะของกลุ่ม
2.3) การจัดความรู้ให้เป็นระบบกลุ่มผู้ผลิตเรือใบจำลองยังไม่มีการจัดการความรู้ให้เป็นระบบที่ชัดเจน
เนื่องจากความรู้ส่วนใหญ่ได้มาจากภูมิปัญญาของชุมชนที่ได้มาจากประสบการณ์ 2.4) การประมวลและ
กลั่นกรองความรู้ ยังขาดความชัดเจนเนื่องจากความรู้ส่วนใหญ่นั้นเป็นความรู้แบบไม่ชัดแจ้งมักได้รับ
การประมวลและเก็บไวใ้ นความจำของบุคคลมากกวา่ 2.5) การเขา้ ถึงความรู ้ รปู แบบในดา้ นการจัดเก็บความรู้
ของกลุ่มส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบของการจดจำผ่านตัวบุคคล รองลงมาคือการจัดเก็บโดยการบันทึกภาพ
กระบวนการผลิต และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต และการเก็บเป็นตัวอย่างชิ้นงาน 2.6) การแบ่งปัน
แลกเปลยี่ นความรู ้ มกี ารแลกเปลยี่ นความรูอ้ ยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการโดยเฉพาะการแลกเปลยี่ นความรูภ้ ายในกลุม่
เพื่อให้สมาชิกมีความรู้และทักษะในการผลิตมากขึ้น และ 2.7) การเรียนรู้ การถ่ายทอดความรู้ มีรูปแบบ
การถา่ ยทอดอยา่ งเปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการโดยกระบวนการจัดการความรูด้ งั กลา่ วมีลกั ษณะเปน็ วงจร
ที่เมื่อถ่ายทอดความรู้แล้วสามารถย้อนกลับไปกำหนดความรู้ในรูปแบบอื่นๆ ได้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นควรมี
การเก็บรวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้ในรูปความรู้ที่ชัดแจ้ง เช่น การจัดทำในรูปแบบสื่อต่างๆ
This study was proposed to study local wisdom as well as to study knowledge management
of local wisdom of a five-star mock-up sailboat (OTOP) in Chiang Mai. The study was applied a
qualitative method by collecting data from wooden-handicraft product group called Mae Win Mock-up
Sailboat in Mae Wang, Chiang Mai. Primary and secondary data were collected from fourteen group
members and four group consultants via in-depth interview as well as focus group with purposive
sampling. Data collected were analyzed based on descriptive method.
The results were indicated as follow; 1) Local intellect mock-up sailboat was derived from
two aspects of local wisdom: 1.1) traditional wisdom concerning living in accordance with nature,
and 1.2) new knowledge which was derived from the traditional one and was supported by the
government. Both reflected the origins of local wisdom as stated below. Knowledge that was inherited
through generations, knowledge that was resulted from personal practice, knowledge that was
supported by government cooperation, knowledge that was properly developed as the local unique.
2) Knowledge management of local wisdom concerning mock-up sailboat was stated below. 2.1)
Knowledge identification about product setting was conducted through thinking and decision making
among the group members. 2.2) Constructive knowledge was developed both in group and
outgroup so as to create unique knowledge of the group. 2.3) There was still lack of systematic
knowledge management within the group, for a great deal of knowledge was derived from
personal experience. 2.4) Knowledge codification was not precise since most knowledge was like
implicit wisdom. 2.5) Knowledge access based on the group's knowledge storage was in form of
personal memory as well as photograph taking. 2.6) Knowledge sharing was conducted either
formally or informally, especially ingroup knowledge sharing. This was done to strengthen local
wisdom and manufacturing skills among members. 2.7) Knowledge learning and knowledge transfer
were achieved both formally and informally. The processes of knowledge management was like a
cycle that could be turned back to reset knowledge in other forms. Therefore, there should be
explicit knowledge storage such as media storage.
Article Details
1. Any views and comments in the FEU Academic Review Journal are the authors’ views. The editorial staff have not to agree with those views and it is not considered as the editorial’s responsibility.
2. The responsibility of content and draft check of each article belongs to each author. In case, there is any lawsuit about copyright infringement. It is considered as the authors’ sole responsibility.
3. The article copyright belonging to the authors and the Far Eastern University are copyrighted legally. Republication must be received direct permission from the authors and the Far Eastern University in written form.
References
กนกพร ฉิมพลี.(2555). รูปแบบการจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านหัตถกรรมเครื่องจักสาน:กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชน จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
จักรวาล จันทร์หล้า และชลิต ชัยครรชิต.(2555). การจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการทำข้าวฮางของกลุ่มผลิตข้าวฮาง เทศบาลตำบลปลาโหล. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 มีนาคม-เมษายน 2555
ธัชพล ท้าวนาง. (2555). การจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่นในการทำข้าวเม่าของบ้านแก่งโพธิ์. วารสารการบริหารท้องถิ่น, ปีที่ 5 ฉบับที่ 1มกราคม- มีนาคม 2555
นุชจรีย์ ทิวาวัลย์.(2556). ภูมิปัญญาท้องถิ่น : การจัดการความรู้. ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรี. สืบค้นเมื่อ30 พฤษภาคม 2556 จาก, www3.cdd.go.th/cdregion02/goodstory/nut.doc.
พรธิดา วิเชียรปัญญา.(2547). การจัดการความรู้: พื้นฐานและการประยุกต์ใช้. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม
จาก, http://office.dwr.go.th/brdh/KMwebsite/p1_3_adventage.htm
ศีรประภา โคบายาชิ .(2555). การจัดการองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านการจักสานผลิตภัณฑ์ จากผักตบชวา ของกลุ่มแม่บ้าน หมู่บ้านต๋อมดง ตำบลบ้านต๋อม อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา. ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.( 2549). การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนาอาชีพทำขนมโบราณชุมชนกุฎีจีน แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี.
สำนักงาน ก.พ.ร.( 2548). สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติคู่มือการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง. สืบค้นเมื่อ30 พฤษภาคม 2556 จาก, www.opdc.go.th.
อรุณลักษณ์ ทุมมากรณ์ และคณะ.(2555)การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นไม้แกะสลักโซฟามังกรบ้าน
คลองเตย ตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร.สืบค้นเมื่อ30 พฤษภาคม
จาก, https://www.tci-thaijo.org/index.php/tgt/article/view/7845