การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดโดยใช้ของเล่นพื้นบ้าน

Main Article Content

ทัศนีย์ บุญแรง

Abstract

งานวิจยั นมี้ วี ตั ถุประสงคเ์ พอื่ พัฒนาการจัดการเรียนรูข้ องครู จดั ทำแผนกิจกรรมการเรียนรูแ้ ละศึกษา
ผลการพัฒนาการจัดการเรียนรูข้ องครูในการสง่ เสริมทักษะการคิดของนักเรียนโดยใชข้ องเลน่ พนื้ บา้ น กลุม่ เปา้ หมาย
คือ ครูผู้สอนระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนในเขตจังหวัดเชียงใหม่ กระบวนการวิจัยเป็นแบบเชิงทดลอง
มีขั้นตอนการวิจัย 4 ระยะ คือ การสำรวจข้อมูลของเล่นพื้นบ้านเพื่อนำมาวิเคราะห์ จัดทำแผนกิจกรรม
เก็บรวบรวมขอ้ มูลจากการทดลองแผนกิจกรรม และสรุปผล เครอื่ งมือทใี่ ชป้ ระกอบดว้ ย แบบสำรวจภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่
เกี่ยวกับของเล่นพื้นบ้าน แบบวัดทักษะการคิด แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบบประเมินพฤติกรรม
นักเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นของครูและนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ จำนวน ร้อยละ
ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน ข้อมูลผลการจัดกิจกรรม จากการสังเกตของครู นำมาวิเคราะห์
เชิงเนื้อหา ซึ่งมีครูสนใจเข้าร่วมกิจกรรมวิจัย จำนวน 13 คน จากโรงเรียนบ้านหนองไคร้ และโรงเรียน ชุมชน
บ้านบวกครกน้อย จังหวัดเชียงใหม่
ผลการวิจัยพบว่า ของเล่นพื้นบ้านทุกชนิดที่ประดิษฐ์โดยภูมิปัญญาในท้องถิ่น สามารถใช้เป็นสื่อ
ในการส่งเสริมทักษะการคิดให้กับนักเรียนได้ ทั้งนี้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในส่วนของกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียนสำหรับงานวิจัยนี้ ได้คัดเลือกชนิดที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับธรรมชาติของผู้เรียน โดยมี
ของเล่นพื้นบ้าน จำนวน 34 ชนิด ทำให้คณะครูซึ่งเข้าร่วมกิจกรรมการวิจัยสามารถทำแผนการจัดการเรียนรู้
เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดให้กับนักเรียนได้ ทั้งสิ้น 50 แผน เมื่อนำแผนดังกล่าวไปทดลองใช้กับนักเรียนระดับ
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 – 4 จาํ นวน 259 คน พบวา่ นกั เรียนมีทักษะการคิดอยู่ในระดับดีถึงดีมาก ร้อยละ 72.65
เมื่อเทียบกับก่อนเข้าร่วมกิจกรรม นักเรียนมีทักษะการคิดในระดับดีเพียงร้อยละ 29.30 นอกจากนี้พบว่า
นักเรียนมีพฤติกรรมหลังการเข้าร่วมกิจกรรมในระดับดีมาก ร้อยละ 74.90 ผลการประเมินความคิดเห็นของ
นักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนพบว่าอยู่ในระดับดี และผลการประเมินจากแบบบันทึกหลังการ
สอนพบว่า นักเรียนสามารถคิดวิเคราะห์ ใช้วิจารณญาณในการแก้ปัญหาด้วยตนเองได้ มีการเปลี่ยนพฤติกรรม
ของตนเองไปในทางทดี่ ขี นึ้ เปน็ ไปตามจุดมุง่ หมายและมีคณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค ์นกั เรียนมีความกระตือรือรน้
มีความสนใจในการเรียนและมีพฤติกรรมทางสังคมที่ดีเพิ่มขึ้น

The objective of this research is to develop learning management of teachers, to plan
learning activities and study result of develop learning teachers to encourage the thinking skills for
students using folk toys. The target group is the primary school teachers who are teachings in
Chiangmai Educational Service Area. The research process is using an experimental design. There
are four stages of the research process is to explore folk toys. To analyze, plan activities, collect
data and draw conclusions from the trial plan. The tools employed in this research are the
indigenous survey on folk toys, the evaluation form on thinking skills, the activity arrangement plan
for learners’ development, the students’ evaluation form and the questionnaires to collect teachers’
and students’ opinion. Quantitative analysis of the percentage, average and standard deviations.
Results of the activities of the teachers were content analysis. Some 13 interested teachers have
participated in the research activity. They are teachers from Ban Nong Krai School and Ban
Buakkrognoi Community School, Chiangmai Province.
The research findings reveal that all folk toys which are created through indigenous knowledge
can be used as media that enhance the thinking skills for students. In addition, the instructional
activity arrangement within the part of activity to develop learners in this research will select the
activities that are appropriate and responsive to the nature of the learners. Some 34 folk toys are
used. The teachers team who participate in the research activity can make some 50 plan learning
activities to enhance the thinking skills for students. After the trial use of such plan to around 259
students who are studying in the Prathom Suksa 1 to 4. The findings reveal that some 72.65 percent
of students have the thinking skills in a “High” to “Highest” level. When compared with these levels
before participating in this activity, only some 29.30 percent of the students reach the thinking skill
in “High” level earlier. In addition, the findings reveal that the students have the positive behavior
after participating in the activity in the “Highest” level at 74.90 percent. The results of evaluating
student’s opinion toward the activity arrangement to develop learners show a “High” level. And the
evaluation results of the record form after the instruction session reveal that students can think
analytically to solve problems by themselves. They change their behavior to better ways and
respond properly to the objectives, and they have desirable characters which are enthusiasm,
interests in learning, and better social behavior.

Article Details

Section
Research Articles

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.

ทัศนีย์ บุญแรง. (2557). เอกสารประกอบการเรียนการสอนการคิดและการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ (PG 3204). เชียงใหม่ : ส. การพิมพ์.

ธนพร ปันวารี. (2558). เล่นปนเรียน. (ระบบออนไลน์) แหล่งข้อมูล : http://www.mcpswis. mcp.ac.th (11 กุมภาพันธ์ 2558)

พนม เกตุมาน. (2558). คู่มือครู (ปัญหาพฤติกรรมที่พบบ่อยในนักเรียนและแนวทางแก้ไข). (ระบบออนไลน์).แหล่งข้อมูล: http://www.psyclin.co.th/new_page_53.htm (7 กุมภาพันธ์ 2558)

พวงพยอม ชิดทอง.(2551). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 2. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรดุษฏีบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เชียงใหม่.

พิชญ์สินี โชติชะวงค์. (2554). การใช้เกมการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดของเด็กปฐมวัย โรงเรียนเทศบาลวัดศรีปิงเมือง จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต(จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

สุรางค์ โค้วตระกูล. (2554). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2555) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และฉบับที่ 3 พ.ศ. 2553. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล : http://www.onesqa.or.th/th/contentdownload/972/ ( 27 กันยายน 2555)

อนุกรรมการปฏิรูปการเรียนรู้.(2543). ร่างการปฏิรูปการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นสำคัญที่สุด. เอกสารอัดสำเนา