Effects of Inquiry Method with V Diagrams to Promote Critical Thinking of MathayomSuksa 2 Students

Main Article Content

ฐิติรัตน์ ปัญญาเยาว์
วีระพงษ์ แสง-ชูโต

Abstract

The purposes of this research were to study critical thinking ability and science learning achievement of MathayomSuksa 2 students who were learning through inquiry method with V Diagrams. The population was 36 MathayomSuksa 2 students in the second semester of the academic year 2015 at Phabong Community School, Phabong Sub-District, MaeHongSon Province. The instruments consisted of lesson plans emphasizing on inquiry method on the topic of Organ System of Man and Animal, critical thinking ability test with the reliability index of 0.98 and science learning achievement test with the reliability index of 0.82. Statistics used in data analysis included mean, standard deviation and percentage of mean by using computer programs.


        Research findings were as follows:


  1. Critical thinking ability of MathayomSuksa 2 students who were learning through

Inquiry Method with V Diagrams was higher than the requirement criteria.


  1. Science learning achievement of MathayomSuksa 2 Students who were learning through inquiry method with V Diagrams was higher than that of before learning.

Article Details

Section
Research Articles
Author Biography

ฐิติรัตน์ ปัญญาเยาว์, Master of Education Program in Science Education, Faculty of Education, Chiang Mai University

นางสาวฐิติรัตน์  ปัญญาเยาว์  รหัสนักศึกษา 540231003  นักศึกษาปริญญาโท

วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา  คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  

References

กมลวรรณ กันยาประสิทธิ์. (2559). 5 คุณลักษณะสำคัญของการสืบเสาะหาความรู้ (5 Essential features of inquiry). สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2559, จาก http://sciedcenter.swu.ac.th/Portals/25/Documents/News/5 Essential features of inquiry_Kamonwan.pdf?timestamp=1434440007462.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรการแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

ชุติมา โรจนสโรจน์. (2553). ผลของวงจรการเรียนรู้แบบ 5E เสริมด้วยผังมโนทัศน์รูปตัววีที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดรธานี.

ชุมพล ชารีแสน (2554). ความเข้าใจมโนมติทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ชีวิตและสิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ผังมโนมติรูปตัววี. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ทิศนา แขมมณี. (2554). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นุชนาท สิงหา. (2554). ผลการใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E ร่วมกับเทคนิคการจัดแผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ไฟฟ้าเคมี ที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, วิทยาศาสตร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ประถมพร โคตา. (2554). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้และการเขียนผังมโนมติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการมัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ผ่องศรี เครือกลัด. (2557). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน เรื่อง แรงและความดันของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้วัฎจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ผสมผสานกับผังมโนทัศน์รูปตัววี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์.

ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2556). ตัวอย่างการจัดทำคำอธิบายรายวิชาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2556

จากhttp://www.ipst.ac.th/web/images/stories/files/Curriculum/des_secondscience.pdf.

_______________. (2556). ผลการประเมิน PISA 2012 คณิตศาสตร์ การอ่าน และวิทยาศาสตร์ บทสรุป ผู้บริหาร. กรุงเทพฯ: แอดวานซ์ พริ้นติ้ง เซอร์วิช.

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). สรุปผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET)ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2559, จาก http://www.niets.or.th/.

สมจิต ผอมเซ่ง. (2556). ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับการใช้เทคนิคผังกราฟิกที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, หลักสูตร และการสอน ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ.ศ. 2558 (MID 2015). กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

____________. (2558). โครงการปฏิรูปการเรียนรู้สู่ผู้เรียน(พ.ศ. 2557 – 2560)สะท้อนปัญหาและทางออกตอบโจทย์ปฏิรูปการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ:

เซ็นจูรี่ จำกัด.สำนักนโยบายด้านการศึกษามหภาค, กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). เป้าหมายยุทธศาสตร์และตัวบ่งชี้การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(พ.ศ.2552 – 2561). กรุงเทพฯ.

____________. (2554). นโยบายหลักเพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(พ.ศ. 2554 - 2561). กรุงเทพฯ.

อรพรรณ ฤทธิ์มั่น. (2558). บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ(MOU)เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กเยาวชนและครูไทยในศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อ 8 พฤษภาคม 2559, จาก htt://www.moe.go.th/websm/2015/dec.

Gowin, D.Bob. & Alvarez, C.Marino, (2005). The Art of Educating with V Diagrams, New York : Cambridge University Press.

Kanagge, M.Christine, & Schneider M.Rebecca. (2011). Thinking Like a Scientist: Using Vee-Maps to Understand Process and Concepts in Science. Springer. 2011.

Margaret Coffman. & Leela Riggs. (2006). The Virtual Vee Map A Template for Internet Inquiry. Journal of College Science Teaching. 2006(Vol. XXXV), 32 – 39.

Novak, D.Joseph & Gowin, D.Bob, (2008). Learning How to Learn. New York: Cambridge University Press.