การวิเคราะห์องค์ประกอบของการเผชิญปัญหาเชิงบวกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

ภูริเดช พาหุยุทธ์
พัชราภรณ์ ศรีสวัสดิ์
องอาจ นัยพัฒน์
คมเพชร ฉัตรศุภกุล

Abstract

การวิจยั ครงั้ นี้ มจี ดุ มุง่ หมายเพอื่ วิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบของการเผชิญปญั หาเชิงบวกของนักเรียนวัยรุน่
และตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างโมเดลโครงสร้างองค์ประกอบการเผชิญปัญหาเชิงบวกกับข้อมูล
เชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนวัยรุ่นที่ศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา
2557 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,421 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม
ขอ้ มูล คอื แบบวัดการเผชิญปญั หาเชิงบวกของนักเรียนวัยรุน่ เปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณคา่ 5 ระดับ จาํ นวน
50 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .964 และการวิเคราะห์องค์ประกอบในครั้งนี้ใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบ
เชิงสำรวจ สกัดองค์ประกอบแบบวิเคราะห์องค์ประกอบหลักและหมุนแกนแบบมุมฉาก (Orthogonal
Rotation) ด้วยวิธีแวริแมกซ์ (Varimax) และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการวิจัยพบว่า
การวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบเชิงสำรวจการเผชิญปญั หาเชิงบวกของนักเรียนวัยรุน่ ประกอบดว้ ย 9 องคป์ ระกอบ คอื
การเผชิญปัญหาเชิงรุก การรับรู้ความสามารถในการเผชิญปัญหา การเผชิญปัญหาแบบการตอบสนอง
การกำหนดเป้าหมาย การให้ความหมายที่มีคุณค่า การมองโลกในแง่ดี ความหยุ่นตัว การมุ่งแก้ไขปัญหา
และการเผชิญปัญหากับเหตุการณ์ที่กำลังจะเกิดขึ้น โดยมีพิสัยของค่าไอเกนอยู่ระหว่าง 1.078 – 15.316
และมีค่าความแปรปรวนสะสม ร้อยละ 48.124 และผลจากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันการเผชิญปัญหา
เชิงบวกของนักเรียนวัยรุ่น พบว่า 9 องค์ประกอบดังกล่าว มีความเหมาะสมพอดีกับข้อมูลเชิงประจักษ์
โดยมีค่าไค-สแควร์ ( ) เท่ากับ 1026.24 (p-value = .067) มีค่า GFI เท่ากับ .936 มีค่า AGFI เท่ากับ .915
มีค่า SRMR เท่ากับ .03 มีค่า RMSEA เท่ากับ .011 และมีนํ้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานอยู่ในเกณฑ์
สงู อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 ซงึ่ สามารถวัดองคป์ ระกอบการเผชิญปญั หาเชิงบวกของนักเรียนวัยรุน่ ได้

The purposes of this research were to analyze the factor of positive coping of adolescent
students in Bangkok, and investigate the concordance of positive coping model with the empirical
data. The subjects consisted of 1,421 adolescent students were grade 2 secondary school students
(Mattayomsuksa II) from the Office of the Basic Education Commission, Ministry of Education,
Thailand. They were chosen by multiple random sampling. The instrument used for collecting data
in this research was positive coping questionnaire, and had the reliabilities (Cronbach's alpha)
at .964. Data were analyzed by exploratory factor analysis performed, using the principal component
analysis with the orthogonal rotation by varimax method, and investigate the concordance of
positive coping model by confirmatory factor analysis. The research results found that 1) There
were 9 factors of positive coping of adolescent students, consisted of proactive coping self-efficacy
coping, reactive coping, optimism, resilience, meaningfulness, goal-setting, problem-focused
coping and anticipatory coping. The eigen values were in the range of 1.078 - 15.316 and sum of
squared loading was 48.124. 2) The positive coping model in accordance was fit with the empirical
data with Chi-square ( ) = 1026.24 (p-value = .067), GFI = .936, AGFI = .915, SRMR = .03, and
RMSEA = .011. The factor loadings of each factor were positive in the range of .78 – 1.00 and they
were significant at .01 level. All variables were appropriate as observed variables of positive coping.

Article Details

Section
Research Articles
Author Biographies

ภูริเดช พาหุยุทธ์, สาขาการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ แขนงวิชาจิตวิทยาพัฒนามนุษย์และการให้คำปรึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

  1. นายภูริเดช พาหุยุทธ์
  2. ตำแหน่งปัจจุบัน นิสิตระดับปริญญาโทควบเอก สาขาการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ แขนงวิชาจิตวิทยาพัฒนามนุษย์และการให้คำปรึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  3. สถานที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก
    ที่อยู่ 434 ถนนวัดชัยพฤกษมาลา ต. ตลิ่งชัน อ.ตลิ่งชัน จ.กรุงเทพฯ รหัสไปรษณีย์ 10170 โทร 0970041651
  4. ประวัติการศึกษา
    กำลังศึกษา ปร.ด. (การวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์(จิตวิทยาพัฒนามนุษย์และการให้คำปรึกษา) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
    พ.ศ. 2553 ศศ.บ. (จิตวิทยา) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรพ.ศ. 2549 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (วัดน้อยใน) จ.กรุงเทพฯ
  5. ประสบการณ์การทำงาน
    ปี 2556- มกราคม 2558  นักจิตวิทยาปฏิบัติการ แผนคลินิกกระตุ้นพัฒนาการ โรงพยาบาลธนบุรี 2 

พัชราภรณ์ ศรีสวัสดิ์, ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ผศ.ดร.พัชราภรณ์  ศรีสวัสดิ์

ประสบการณ์ในการทำงาน

2536 – 2544   ข้าราชการสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

2544 – 2551   ข้าราชการสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองบัวลำภู           

2551 – 2553   อาจารย์ประจำภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว           คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2553 – ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาคการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

องอาจ นัยพัฒน์, ภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

อาจารย์ประจำภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ตําแหน่งทางการบริหาร/วิชาการ
1. รองศาสตราจารย์คณะศกษาศาสตร ึ ์มศว. (ปัจจุบัน)
2. คณบดีคณะศึกษาศาสตร์มศว. (2551-2555)
3. กรรมการสภามหาวิทยาลัย มศว. (2551-2554)
4. รองประธาน สภาคณบดีคณะครศุาสตร/์ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย (2551-2555)
5. หัวหน้าภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มศว. (2549-2551)
6. กรรมการบริหารสมาคมวจิัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย (2547-ปัจจุบัน)
7. กรรมการบริหารสมาคมสมาคมวิจัยสถาบันและพัฒนาอุดมศึกษา (2555-ปัจจุบัน)
8. อนุกรรมการครุสุภา (1) ประเมินมาตรฐานหลักสูตรและ (2) พัฒนาเกณฑ์การออกใบอนุญาตฯ (2554-ปัจจุบัน)
9. กรรมการผทรงค ู้ ุณวุฒิประจําคณะครศุาสตร ์มรภ.นครศรธีรรมราช (2554-ปัจจุบัน)

คมเพชร ฉัตรศุภกุล, รองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

อดีตดำรงตำแหน่งคณบดีคณะศึกษาศาสตร์   มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

อดีตดำรงตำแหน่งผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายกิจการพิเศษ  ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริหารบัณฑิตวิทยาลัย

อดีตผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะศึกษาศาสตร์  ผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร

ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

References

ยุทธ ไกยวรรณ์. (2557). การวิเคราะห์สถิติหลายตัวแปรสำหรับการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Antonovsky, A. (1987). Unraveling the Mystery of Health.

San Francisco: Jossey-Bass.

Aspinwall, L.G., & Taylor, S.E. (1997). A stitch in time: Self-regulation and proactive coping. Psychological Bulletin. 1997(121), 417-436.

Compas, B.E., Connor-Smith, J.K., Saltzman, H., Thomsem, A.H., & Wadsworth, M.E. (2001). Coping with Stress During Childhood and Adolescence: Problems, Progress and Potential in Theory and Research, Psychological Bulletin. 2011 (127)1, 87-127.

Carnegie, D. (1944). How to Stop Worrying and Start Living. Pocket Books. New York: NY

Compton, William. C. ( 2010). An introduction to positive psychology. Unitedsted of America: Malloy Incorporated.

Greenglass, E., & Fiksenbaum, L. (2009). Proactive Coping, Positive Affect, and Well-Being: Testing for Mediation Using Path Analysis. European Psychologist. 14(1), pp. 29–39.

Greenglass, E., & Frydenberg, Erica (Ed), (2002). Beyond coping: Meeting goals, visions, and challenges. London: Oxford University Press.

Lazarus, Richard S. (1998). Fifty Years of the Research and Theory of R.S. Lazarus: An Analysis of Historical and Perennial Issue. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.

Lazarus, Richard S. and Folkman. (1984). Stress Appraisal, and coping. New York: Springer Publishing Company.

Novicevic, M.M., Evans, M., Paolillo, J., Wheeler, A. and Buckley, M. (2006). “Linking Carnegie’s and contemporary views of positive coping strategies”. Journal of Applied Management and

Entrepreneurship. Vol. 11 No. 4, 65-80.

Monat, Alan., Lazarus, Richard S., & Reevy, Gretchen. (2007). The Praeger Handbook on Stress and Coping. Portland: Praeger.

Park, Crystal L.; Folkman, Susan. (1997). Meaning in the context of stress and coping. Review of General Psychology. 1(2), 115-144.

Phurided Pahuyut, Patcharaporn Srisawat, Khompet Chatsupakual and Ongart Naiyapatana, (2015). Positive coping of Adolescent Students: A Phenomenology study. The 1st Srinakharinwirot University International Conference on Education (SWUICE2015). 11-12 September 2015 Faculty of Education, Srinakharinwirot University, Bangkok, 116-122.

Sandler, I.N.; et al. (1997). Developing linkages between theory and intervention in stress and coping process. New York: Pleum Press.

Schwarzer, R. (1999). Self-regulatory processes in the adoption and maintenance of health behaviors. The role of optimism, goals and threats. Journal of Health Psychology. 1999 (4 ), 115 -127.

Schwarzer, R., & Knoll, N. (2007). Positive coping: Mastering demands and searching for meaning. In Handbook of positive psychological assessment (eds. S. J. Lopez & C. R. Snyder), Chpt. 25. Washington, DC: American Psychological Association.

Schwarzer, R., & Knoll, N. (1999). Positive coping: Mastering demands and searching for meaning. Positive psychological assessment, A handbook of models and measures. Washington, DC, US: American Psychological Association.

Schwarzer, R., & Taubert, S. (2002). Tenacious goal pursuits and striving toward personal growth: Proactive coping. In E. Frydenberg (Ed.), Beyond coping: Meeting goals, visions and challenges. London: Oxford University Press.

Schwarzer, R., & Renner, B. (2000). Social-cognitive predictors of health behavior: Action self-efficacy and coping self-efficacy. Health Psychology. 2000(19), 487-495.

Seligman, M. E. P., & Csikszentmihalyi, M. (2000). Positive psychology: An Introduction. In Special issue on happiness, excellence and optimal human functioning. American Psychologist. 2000(55), 5-14.

Selye H. (1956). The stress of life. New York: McGraw-Hill.

Snyder, C. R., Dinoff, B. (1999). Where have you been In C. R. Snyder (Ed.), Coping: The psychology of what work. New York: Oxford University.

Sohl, S.J.; & Moyer, A. (2009). Refining the conceptualization of a future-oriented self-regulatory: Proactive coping. Journal of Personality and Individual Differences. 47, 139-144.

Taylor, S.E., & Brown, J.D. (1988). Illusion and well-being: A social psychological perspective on mental health. Psychological Bulletin, 1988(103), 193-210.