A Comparative Study on Possessive Forms of “Khong” in Thai and “De” in Chinese

Main Article Content

อรชพร พวงทอง

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบโครงสร้าง ความหมายของโครงสร้าง และวิธีการใช้ “ของ” และ “的” โดยรวบรวมประโยคตัวอย่างที่มีโครงสร้าง “ของ” เป็นส่วนประกอบจากนวนิยายเรื่อง สี่แผ่นดิน (เล่ม 1) เพื่อศึกษาประเภทของโครงสร้าง “ของ” หลังจากนั้นเลือกศึกษาเฉพาะโครงสร้างนามวลีที่แสดงความสัมพันธ์แบบเจ้าของเพื่อวิเคราะห์ความหมายของโครงสร้างรวมถึงวิธีการใช้ “ของ” และนำไปเปรียบเทียบกับ “的”  ต่อไป ผู้วิจัยใช้แบบบันทึกรายการ สถิติพื้นฐาน การวิเคราะห์เนื้อหาในการเก็บรวบรวม ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่า โครงสร้าง ความหมายของโครงสร้าง และวิธีการใช้ “ของ” และ “的” มีทั้งข้อเหมือนและข้อแตกต่างโดยวิธีการใช้ “ของ” มีความยืดหยุ่นมากกว่า “的” กล่าวคือ “ของ” นอกจากใช้เชื่อมคำนามกับคำนามแล้ว ยังสามารถใช้เชื่อมคำนามกับคำชนิดอื่น ๆ หรือวลีได้อีกด้วย นอกจากนี้การใช้หรือไม่ใช้ “ของ” ขึ้นอยู่กับประเภทคำมากกว่าความหมายของโครงสร้าง อีกทั้งไม่มีความสัมพันธ์กับกฎการสัมผัสคำและกฎระยะทางที่คล้ายคลึงกัน ( 距离相似原则) เหมือน “的”

Article Details

Section
Research Articles
Author Biography

อรชพร พวงทอง, Department of Eastern Languages, Faculty of Humanities, Chiang Mai University

Ph.D. in Linguistics and Applied Linguistics

 

References

คึกฤทธิ์ ปราโมช. (2543). สี่แผ่นดิน (เล่ม 1). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดอกหญ้า.

Kukrit Pramoj. (2000). Four Reign (Volume one). Bangkok : Dokya Publishing House.

นววรรณ พันธุเมธา. (2553). ไวยากรณ์ไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Navavan Bandhumedha. (2010). Thai Grammar. Bangkok : Chulalongkorn University Faculty of Arts.

นันทกา พหลยุทธ. (2526). การศึกษาเปรียบเทียบการใช้คำบุพบทในสมัยสุโขทัย อยุธยา กับสมัยปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Nanthaka Phahonyut. (1983). The use of prepositions in the Sukhothai,Ayudhya and Ratanakosin periods : a comparative study. Bangkok : Chulalongkorn University.

ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คลังข้อมูลภาษาไทยแห่งชาติ 2. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2559, จาก http://www.arts.chula.ac.th/~ling/TNCII/

Department of Linguistics Faculty of Arts Chulalongkorn University. Thai National Corpus II. Retrieved October 10, 2016, from http://www.arts.chula.ac.th/~ling/TNCII/

เมอร์ฟี่ และ ศรีภูมิ อัครมาส. (2002). Essential Grammar in Use : ฉบับคำอธิบายภาษาไทยพร้อมคำเฉลย (พิมพ์ครั้งที่ 2). เคมบริดจ์: มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์.

Murphy and Sriphum Akkaramat. (2002). Essential Grammar in Use (2nd ed.). Cambridge : University of Cambridge.

ยามาซากิ, อิชิอิ, ซาซากิ, ทากาฮาชิ และ มาชิดะ. (2557). ไดจิ 1 ภาษาญี่ปุ่นชั้นต้น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).

Yamasaki, Ichii, Sasaki, Takahashi & Mashida. (2014). Daichi 1 Beginning Japanese. Bangkok : TPA Press.

ราชบัณฑิตยสถาน. ( 2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส์พับลิเคชั่นส์.

Royal Institute of Thailand. (2003). The Royal Institute Dictionary 1999. Bangkok : Nanmeebooks Publications.

สอางค์ มะลิกุล. (2556). ไวยากรณ์ฝรั่งเศส (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง.

Saang Malikun. (2013). French Grammar (3rd ed.). Bangkok : Khaofang Publishing.

เสนีย์ วิลาวรรณ. (2536). หนังสือเรียนภาษาไทย ท 071 หลักภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช.

Senee Wilawan. (1990). Thai Language Textbook for Senior High School. Bangkok : Watthanaphanit Publishing.

Cui, Xiliang. (1992). On the Problem of “De” in Personal Pronouns. (人称代词修饰名词时“的”字隐现问题). Chinese Teaching in the World. 1992(3), 179-184.

Jin, Renkui. (2010). Han Han Lingge Biaoji Yinxian Xianxiang Duibi kaocha. Master of Arts. (汉朝领格标记隐现现象对比考察). Beijing: Ethnic Minority Literature Major, Faculty of Chinese Language, Beijing Language and Culture University.

Kong, Lingda. (1994). Semantic Rules of N2 Ellipsis in N1+N2 (名1+名2结构中名2省略的语义规则). 90s Grammar Thinking. January 1st, 1994 Beijing Language and Culture University. Beijing: Beijing Language and Culture University Press.

Kukrit Promoj. (1992). Si Chao dai (Shang ce). [Four Reign (Volume one)] (Qian Guang, Trans.). Taiyuan: Beiyue Literature and Art Publishing House.

Lu, Jianming. (2002). Talk about “He ate three apples” Structure-Property. (再谈“吃了他三个苹果”一类结构的性质). Chinese Language. 2002(4), 317-325.

Lu, Jianming. (2005). A Study Course of Modern Chinese Grammar (Third edition). (现代 汉语语法研究教程 (第三版)). Beijing: Peking University Press.

Lu, Jianming. (2009). Modern Chinese (revised edition). (现代汉语(重排本)). Beijing: The commercial Press.

Luo, Xinrong. (2009). The Principle of presence or absence of “De” in Modern Chinese. (现代汉语定中词组中结构助词“的”的隐现规律). Entrepreneur World. 2009(4), 174-175.

Lv, Shuxiang. (2005). Eight Hundred Words in Modern Chinese. (现代汉语八百词). Beijing: The Commercial Press.

Pei, Xiaorui. (2007). New Thai Grammar. (泰语语法新编). Beijing: Peking University Press.

Wen, Zhenhui. (1998). Semantic Analysis of “N1(的)N2” in the Attribute Category. (表属性范畴的“N1(的)N2” 结构的语义分析). Chinese Teaching in the World. 1998(1), 35-40.

Wen, Zhenhui. (1999). Identification of Semantic Relations between N1 and N2 in Attributive Structure. (“N1(的)N2” 偏正结构的N1与N2之间的语义关系的鉴定). Linguistic Researches. 1999(3), 22-27.

Zhang, Min. (1998). Cognitive Linguistics and Chinese Noun Phrases. (认知语言学与汉语名词短语). Beijing: China Social Science Publishing House.

Zhu, Dexi. (1957). Attribute and Adverbial. (定语和状语). Shanghai: New knowledge Press.

Zhu, Dexi. (2008). Explanations on Grammar. (语法讲义). Beijing: The Commercial Press.