รูปแบบการบริหารจัดการเกษตรในเมือง กรณีศึกษาศูนย์การเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง บ้านป่าเก็ตถี่ ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

นุชจรี ศรีอุปโย
แสงหล้า สุยะราช

Abstract

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทของชุมชนภายใต้การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ สังคม
วิถีชีวิต องค์ความรู้ด้านการเกษตร ภูมิปัญญาของชุมชน ปัจจัยที่เอื้อต่อการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู้
รูปแบบการบริหารการจัดการเกษตรในเมือง บ้านป่าเก็ตถี่ ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยใช้วิธีสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) โดยประกอบด้วย 2 กลุ่ม คือ
1) กลุ่มเป้าหมายหลัก คือทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัย เทศบาลและชุมชน จำนวน 20 คน 2) เป้าหมายรอง
คือ คณะกรรมการศูนย์การเรียนรู้ จำนวน 24 คน จาก 8 หมู่บ้าน และภาคีเครือข่ายร่วมขับเคลื่อนให้เกิด
การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมผ่านเทคนิคการบริหาร
จัดการเทคนิค (POLC)1) การวางแผน (Planning) 2) การจัดองค์การ (Organizing) 3) การนำ (Leading)
4) การควบคุม (Controlling) จนเกิดเป็นรูปแบบบริหารจัดการ (Management Model) ที่เหมาะสมกับบริบท
ของกลุ่ม
ผลการวิจัยปรากฎ ดังนี้ บริบทของชุมชนภายใต้การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจมีความสำคัญ
เนอื่ งมาจากความเจริญของชุมชนเมืองทขี่ ยายตัวเขา้ ไปยังพนื้ ที่ ประชากรสว่ นใหญเ่ ปน็ ผูส้ งู อายุ วถิ ชี วี ติ ยังคง
มีการนำวิถีชีวิตแบบพอเพียงมาใช้ในปัจจุบัน สามารถนำมาพิจารณาประกอบการทำกิจกรรมได้เป็นอย่างดี
องคค์ วามรูด้ า้ นการเกษตร ภมู ปิ ญั ญาของชุมชน มปี ราชญช์ มุ ชนดา้ นการเกษตรและความเชยี่ วชาญ
เฉพาะด้านจำนวน 7 คนที่สามารถเป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ของชุมชน
ปจั จัยทเี่ ออื้ ตอ่ การบริหารจัดการศูนยก์ ารเรียนรูเ้ กิดจากการทดลองและพัฒนาศักยภาพรว่ มกันผา่ นการ
ทำงานตามโครงสร้าง มีการคัดเลือกโครงการที่เหมาะสมกับบริบทเกษตรในเมืองเพื่อให้เกิดการรวมตัวกันอย่าง
เข้มแข็งภายในชุมชน
รูปแบบการบริหารการจัดการเกษตรในเมือง บ้านป่าเก็ตถี่เกิดจากการจัดหาตลาดที่เหมาะสมกับ
กลุ่มเกษตรในเมืองโดยเน้นผู้ประกอบการร้านอาหาร ตัดคนกลางของช่องทางการจัดจำหน่าย มีการขายตรง
จากผู้ซื้อถึงผู้บริโภคอีกทั้งยังทำการปลูกผักที่เหมาะสมกับความต้องการของตลาดด้วย

This study aimed to analyze community context under the change of economic and social
dimension as well as traditional knowledge in agricultural way in order to support the agricultural
management in the city atPa-Hget-Tee Village,Hnongpueng Sub-district, Sarapee District,Chiang
Mai Province. The population has been divided in 2 groups Purposive Random Sampling ; 1) Main
goal which is the research team from the University, Municipal and local people from the community,
2) Secondary goal which is the 24 chairperson from the pattern of Study Centre of 8 village including
all network partners to support the participatory action in community on specific area where the
pattern of Study Centre is located and people pay attention and manage the project with the action
research in order to apply (POLC Model) technique 1) Planning 2) Organizing 3) Leading 4)
Controlling, to produce the actual framework suitable with the area.
After the study, it has been found. Community context under the change of economic
dimension is important due to the urbanization to rural area where there are many senior people.
However, this get along well with activities because they always use sustainable life to their living.
There are 7 Philosophers in community to implement the agricultural knowledge to local
people and teach them how to use and apply it.
The vital factor to the pattern knowledge study centre comes from the participation of
community in suitable projects they are chosen to strengthen the community cooperation in their
own area.
The Agricultural Management in the city Baan Pa-Hget-Tee was created by find a suitable
agricultural market in city, especially, entrepreneurships in food product. They can connect to
customers directly without relying on merchants. Also, they know how to do plantation which is the
demand of market for agricultural products.

Article Details

Section
Research Articles
Author Biography

นุชจรี ศรีอุปโย, สาขาวิชาการประกอบการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น

อาจารย์นุชจรี  ศรีอุปโย

ประวัติการศึกษา  ปริญญาโท : บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต การเป็นผู้ประกอบการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น

ปริญญาตรี : บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 

References

ขจรศักดิ์ วงศ์วิราช (2552).การศึกษารูปแบบการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพเกษตรผักปลอดสารพิษบ้านจำหมู่ที่ 6 ตำบลปงยางคก อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง.งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น. สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย

Kajohnsak Wongwirach (2009). Model of Inorganic Vegetable Farming Group Management at Banjam Moo 6 Pongyangkok Sub-district, Hang chat district, Lampang province. Community-base research The Thailand Research Fund.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์. (2556). ปลูกเมืองปลูกชีวิต แนวคิดและแนวทางการพัฒนาเกษตรในเมือง. โครงการสวนผักเมือง มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ.

Piyapong Boossabong (2013). Planting a living planted city Concept and development approach Agree Culture.City Farm Thailand Progect.Sustainable Agriculture Foundation.1st edition.Bangkok.

รุ่งทิพย์ ศูนย์ตรง และคณะ.(2546).รูปแบบการบริหารจัดการกลุ่มแบบมีส่วนร่วมที่เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรแหลมคูณ หมู่ 5 อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์.งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น. สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย

Rungtip SoonTong and others. (2013). Participative Management Contributes to the development Community Economy Housewife Group Laem Koon Farmer 5 Village Tron District , Uttaradit Province. Community-base research The Thailand Research Fund.

แสงพลอย มุ้งทอง. (2547). รูปแบบการบริหารจัดการที่เอื้อต่อการพัฒนาอาชีพของกลุ่มผ้าด้นมือ ตำบลป่าแดง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่.งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น. สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย

Sangploy Mungtong.(2013). Participative Management Contributes to the carrer development of

Handkerchief Phardang Village. Muang District. Phrae Province. Community-base research The Thailand Research Fund.

อรุณี หรดาล และคณะ. (2548). การวิจัยและพัฒนาความพร้อมในการจัดการศึกษาปฐมวัยขององค์การบริหารส่วนตำบล.งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น. สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย

Arunee Horadal and others.(2014).Research and Development in Management Childhood Organization Village. . Community-base research The Thailand Research Fund.