การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบำรุงรักษาต้นไม้ใหญ่: กรณีศึกษา เส้นทางลำเหมืองฝายพญาคำ ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
Main Article Content
Abstract
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพบริบทต้นไม้ใหญ่
และพัฒนาระบบสารสนเทศในการบำรุงรักษาต้นไม้ งานวิจัยนี้มีกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) ส่วนของ
ข้อมูลต้นไม้ใหญ่บริเวณเส้นทางแนวลำเหมืองฝายพญาคำ ตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
จำนวน 30 ต้นโดยศึกษาเปรียบเทียบกับต้นไม้ใหญ่ที่อยู่บริเวณถนนเชียงใหม่-ลำพูน 2) กลุ่มผู้ให้ข้อมูล
จำนวน 28 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่เทศบาลหนองผึ้ง จำนวน 1 คน หมอต้นไม้ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการ
บำรุงรักษาต้นไม้ใหญ่ จำนวน 1 คน เครือข่ายเขียวสวยหอม ซึ่งเป็นการรวมตัวกันขององค์กรประชาชน
ท้องถิ่น และหน่วยงานของรัฐที่ทำงานด้านสิ่งแวดล้อมสำหรับเมืองเชียงใหม่ จำนวน 1 คน ประชาชนในชุมชน
จำนวน 20 คน นักวิจัยและนักศึกษาจำนวน 5 คน โดยมีขั้นตอนการวิจัยดังนี้ 1) ศึกษาสภาพบริบทของต้นไม้
ในตำบลหนองผงึ้ 2) สมั ภาษณแ์ บบกงึ่ โครงสรา้ งกับผูใ้ หข้ อ้ มูล 3) ออกแบบและสรา้ งแบบสำรวจซงึ่ เปน็ เครอื่ งมือ
ในการเก็บขอ้ มูลตน้ ไมใ้ หญ 4) ลงพนื้ ทเี่ ก็บขอ้ มูลจริงเพอื่ เตรียมขอ้ มูลเขา้ สูร่ ะบบ 5) พฒั นาระบบสารสารเทศ
เป็นเว็บแอพพลิเคชันด้วย ภาษา PHP เวอร์ชัน 5.3 และฐานข้อมูล MySQL เวอร์ชัน 5.5
ผลจากงานวิจยั พบวา่ สภาพบริบทตน้ ไมใ้ หญบ่ ริเวณแนวลำเหมืองพญาคำมีสภาพดีกวา่ เมอื่ เปรียบเทียบ
กับบริเวณริมถนนเส้นเชียงใหม่-ลำพูน ทำให้สามารถศึกษาเป็นแนวทางสำหรับการบำรุงรักษาต้นไม้ในบริเวณ
อื่นๆ ในชุมชนต่อไปได้
ส่วนผลการพัฒนาระบบพบว่า สามารถเก็บข้อมูลและจัดการกับข้อมูลทั้งในส่วนของการเพิ่ม
ลบแก้ไข รวมถึงการออกรายงาน แสดงสถานการณ์สภาพต้นไม้ใหญ่ผ่านแผนที่โดยอาศัยเทคนิคทางด้าน
ภูมิสารสนเทศ ในส่วนของผลประเมินความพึงพอใจการใช้งานของระบบสารสนเทศอยู่ในระดับมาก (4.50)
ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการเห็นความสำคัญของระบบสารสนเทศอันจะเป็นเครื่องมือที่ช่วยชุมชนในการบริหาร
จัดการต้นไม้ใหญ่ต่อไปในอนาคต
This researchisparticipatory Action Research and development field that aims to study the
context of big tree and the big tree nourishment information system development. This research
focuses on 2 sample groups. 1) 30 big trees along the Payakam Weir Route, which is the old weir
in Chiang Mai in order to compare with the big trees along the Chiang Mai – Lamphun Road. 2) 28
people who give the data, 1 person from Nongphueng Municipality, 1 person from Tree Doctor
volunteer who is specialist in the big tree nourishment, 1 person from Green Beautiful Scented
Organization which is the collaborate from people, local and Municipality organizations for environment
Chiang Mai, 20 people in community, and 5 people from researchers and students.The research
processes is 1) To study the context of the big trees in TambonNongphueng.2) Semi-structured
interview with people who give the data. 3) Design and generate the survey form. 4) Data
Collection. 5) The system was implemented by using PHP 5.3. and MySQL 5.5.
The result shows that the context of the big trees along the Payakam Weir Route are better
than those along the Chiang Mai – Lamphun Road. The result leads to study or define the policy
for the big trees nourishment in other nearby communities.
For the results of information system, there are functions to collectand manage the data,
such as insert, delete, and updateincluding reports. The report also can depict the map form by using
GIS technique. The user’s satisfaction evaluation reveals the excellent rate (4.50), which indicates
the necessity of the information system to be the tool for the big trees’ data management in the future.
Article Details
1. Any views and comments in the FEU Academic Review Journal are the authors’ views. The editorial staff have not to agree with those views and it is not considered as the editorial’s responsibility.
2. The responsibility of content and draft check of each article belongs to each author. In case, there is any lawsuit about copyright infringement. It is considered as the authors’ sole responsibility.
3. The article copyright belonging to the authors and the Far Eastern University are copyrighted legally. Republication must be received direct permission from the authors and the Far Eastern University in written form.
References
ณัฐวรรธน์ สุนทรวริทธิโชติ และ กาญจณา สุขาบูรณ์. (2556).การศึกษาสภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมในเขตตำบลสามบัณฑิต : กรณีศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประชาชน.กองทุนวิจัย
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
เทศบาลหนองผึ้ งอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ (2559). ข้อมูลตำบลหนองผึ้ง. สืบค้นเมื่อ 3 กรกฏาคม 2560, จาก http://www.nongphueng.com/history.html.
ธนพรรณ ธานี, การศึกษาชุมชน ขอนแก่น, คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2540.
ปรเมธี วิมลศิริ. (2559). ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี อนาคตประเทศไทย เพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน. ในหลักสูตรวิทยาการประกันภัยระดับสูง (วปส.) รุ่นที่ 6 ปี 2559. วันศุกร์ที่ 26 สิงหาคม 2559
ณ ห้องประชุมสถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง ชั้น 2 สำนักงาน คปภ. หน้า 12
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำนักปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.(2555).
ระบบข้อมูลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สืบค้นเมื่อ 3 กรกฏาคม 2560. จาก http://www.mnre.go.th/ewt_dl_link.php?nid=1166.
สยามรัฐออนไลน์ (2560). เมืองเชียงใหม่อีกก้าวสู่มรดกโลก. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฏาคม 2560,
จาก http://www.siamrath.co.th/n/10744
โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์.(2555). การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ:ซีเอ็ดยูเคชั่น
Janet Cotter. (2014, January, 16). The importance of being a big tree. Retrieved from
Karen Feldscher, HSPH Communications (2016, April, 14). Greenery plays key role in keeping women
healthy, happy. Retrieved from http://news.harvard.edu/gazette/story/2016/04/greenery-plays-key-role-in-keeping-women-healthy-happy/
The GNU General Public License. (2016, June, 10). QGIS 2.14. Retrieved from
https://www.qgis.org/en/site/about/index.html
Yaowanit Tarachai, Marco Hoffman & Henk van Reuler .(2011). Monumental Trees in Chiang Mai.
Bangkok: Jut Thong Publishing.