การศึกษาเปรียบเทียบโครงสร้างของคำปรากฏร่วมของคำว่า ‘치아[ชีอา]’ กับคำว่า ‘ฟัน’

A Comparative Analysis of Collocation Structures Occurring with ‘치아[chia]’ and ‘ฟัน[fan]’

Authors

  • เนติมา บูรพาศิริวัฒน์ Faculty of International Studies, Prince of Songkla University

Keywords:

Korean Dental Vocabularies, Thai Dental Vocabularies, , Collocation, Korean Language Learning

Abstract

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สำรวจและวิเคราะห์ความถี่ของคำปรากฏร่วมของคำว่า ‘치아’ 2) ศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบโครงสร้างการปรากฏร่วมของคำว่า ‘치아’ และคำว่า ‘ฟัน’ ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยเก็บตัวอย่างข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ คือ เว็บไซต์คลินิกทันตกรรมของเกาหลีและไทย คลิปวิดีโอบนช่อง YouTube ที่มีบทสนทนาระหว่างแพทย์และผู้ป่วยทั้งภาษาไทยและเกาหลี ผลการวิจัยพบว่า คำปรากฏร่วมที่ปรากฏกับคำว่า ‘치아’ มีลักษณะรูปแบบโครงสร้างของคำทั้งสิ้น 12 รูปแบบ พบรูปแบบโครงสร้าง ‘คำนาม’+ ‘คำนาม’ มากที่สุด แต่ในทางกลับกัน คำปรากฏร่วมที่ปรากฏกับคำว่า ‘ฟัน’ มีรูปแบบโครงสร้างมากถึง 33 รูปแบบ มีลักษณะโครงสร้างคำแบบ ‘คำกริยา’+‘คำนาม’ มากที่สุด และสามารถวิเคราะห์ได้ว่า คำปรากฏร่วมในภาษาไทยสามารถนำคำมาประกอบกันได้โดยอิสระมากกว่าภาษาเกาหลี และผู้วิจัยพบว่า มีกลุ่มคำที่ปรากฏร่วมปรากฏคู่กับคำว่า ‘치아’ จำนวน 211 คำ ที่เป็นชุดคำปรากฏร่วมที่มีประโยชน์ต่อการเรียนรู้คำศัพท์แพทย์ทันตกรรมเกาหลีและเพื่อการสื่อสารเกี่ยวกับการใช้บริการทันตกรรมที่มีประสิทธิภาพได้ รวมถึงสามารถนำชุดกลุ่มคำปรากฏร่วมดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในการผลิตหนังสือหรือตำราสำหรับการสร้างบทสนทนาที่จำเป็นในการล่ามการแพทย์ภาษาเกาหลีได้ต่อไป

 

คำสำคัญ: ศัพท์แพทย์ทันตกรรมภาษาเกาหลี, คำศัพท์ทางทันตกรรมภาษาไทย, คำปรากฏร่วม, คลังข้อมูลภาษา

References

เนติมา บูรพาศิริวัฒน์. (2563). การศึกษาความต้องการล่ามภาษาเกาหลีของตลาดแรงงานในประเทศไทย: การศึกษาประกาศรับสมัครออนไลน์. วารสารภาษาและวัฒนธรรมเกาหลีศึกษา, 2(1), 153-173.

ปรีมา มัลลิกะมาส. (2551). การแปลกับการสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผู้จัดการออนไลน์. (2564). ธุรกิจการแพทย์และความงาม-ธุรกิจอีคอมเมิร์ซ ครองแชมป์ธุรกิจดาวรุ่งปี 65). เข้าถึงได้จาก https://mgronline.com/business/detail/9640000124328

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พศ. 2554. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.

วิโรจน์ อรุณมานะกุล. (2545). ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล. กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2562). จำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เข้ามาประเทศไทย จำแนกตามสัญชาติ พ.ศ.

– 2561. เข้าถึงได้จาก http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/ sector/th/17.aspx

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2563). สํารวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. ๒๕๖๒. เข้าถึงได้จาก http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/News/2562/N14-03-62-1.aspx

Boonyuasaquan, S. (2006). An analysis of collocational collations in translation. Journal of

Humanities, 27(2), 79-91.

Hill, J. (2001). Revising priorities: From grammatical failure to collocational success. In M.Lewis (Ed.), Teaching collocation: Further development in the lexical approach (pp. 47-69). Hove, Language Teaching.

Kim Hye-jin. (2013). A contrastive study on lexical collocations based on Japanese-Korean parallel corpus : focused on lexical gaps. A master's thesis at Yonsei University. [김혜진. (2013). 일·한 병렬 말뭉치에 기반 한 연어 대조 연구 : 어휘 공백을 중심으로. 연세대학교 대학원 석사학위논문.]

Kim Jin-hee. (2007). A Research for a polysemy construction of 'jabda'. A master's thesis at Kyungpook National University University. [김혜진. (2013). 동사‘잡다’의다의구조연구. 경북대학교교육대학원 석사학위논문.]

Ko Woo-mi. (2016). A contrastive study on the synonyms of psychological adjective of Korean and Japanese: based on the analysis of 'fear' and 'loneliness' collocations. A master's thesis at Yonsei University. [고우미. (2016). .한·일 심리 형용사 유의어 대조 연구 :'무서움'과 '외로움'에 대한 연어 분석을 중심으로. 연세대학교 대학원 석사학위논문.]

McCarthy, M., & O’Dell,F. (2005). English collocations in use. Cambridge: Cambridge University

Moon Geum-hyun. (2006). Plans of polysemy education for Korean Vocabulary Education

: focusing on a Korean verb 'Boda'. [(BR) Bilingual Research], 30, 143-177. [문금현. (2006). 한국어 어휘 교육을 위한 다의어 학습 방안: 동사 '보다' 를 중심으로.. [국어교육], 18, 551-563.]

Nation, I. S. P. (2001). Learning vocabulary in another language. Cambridge: Cambridge University Press.

Shim Kwang-seob & Yang Jae-hyung. (2004). High Speed Korean Morphological Analysis based on Adjacency Condition Check. [(SA) Journal of KIISE : Software and Applications (SA)], 31(1), 89-99. [심광섭, 양재형. (2004). 인접 조건 검사에 의한 초고속 한글 형태소 분석. [정보과학회논문지 : 소프트웨어 및 응용], 18, 551-563.]

Stewick, Earl W. (1972). Language Learning Teaching and Learning English. London: Longman.

Downloads

Published

2023-04-24

How to Cite

บูรพาศิริวัฒน์ เ. . (2023). การศึกษาเปรียบเทียบโครงสร้างของคำปรากฏร่วมของคำว่า ‘치아[ชีอา]’ กับคำว่า ‘ฟัน’: A Comparative Analysis of Collocation Structures Occurring with ‘치아[chia]’ and ‘ฟัน[fan]’. Journal of Humanities and Social Sciences (HUSOKKU), 40(1), 28–68. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HUSO/article/view/257864

Issue

Section

บทความวิจัย