สถานภาพการวิจัยด้านปรัชญาจีนในประเทศไทย
The current state of Chinese philosophy research in Thailand
Keywords:
The current state of Knowledge, Research , Chinese Philosophy, ThailandAbstract
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สถานภาพการวิจัยด้านปรัชญาจีนในประเทศไทย เป็นการวิจัยเอกสาร ทำการการเก็บรวบรวมข้อมูลจากฐานข้อมูลออนไลน์ของมหาวิทยาลัยวิจัย 9 แห่ง หน่วยงานที่สนับสนุนการวิจัยอีก 2 หน่วยงาน ฐานข้อมูลงานวิจัย (Thai Lis) และระบบฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์กลางของประเทศไทย (Thai Journal Online) หลังจากนั้นก็ทำการวิเคราะห์ข้อมูลแยกตามขอบเขตของงานวิจัย 3 ประเด็นคือ การวิเคราะห์เนื้อหาตามยุคสมัย สำนักคิดทางปรัชญา และประเภทของสาขาปรัชญา
ผลการวิจัยพบว่า งานวิจัยทางด้านปรัชญาจีนในประเทศไทยมีทั้งหมด 60 เรื่อง แยกออกเป็นยุคสมัยของปรัชญาจีนที่มีการวิจัยมากที่สุดได้แก่ ยุคสมัยก่อนราชวงศ์ฉิน ส่วนสำนักคิดทางปรัชญาจีนที่มีการศึกษาวิจัยมากที่สุดคือ ปรัชญาขงจื่อหรือปรัชญาสำนักรู่ หากแยกพิจารณาการวิจัยจำแนกตามประเด็นสาขาของปรัชญา พบว่า การวิจัยด้านปรัชญาจีนในประเทศไทยที่มีลักษณะของปรัชญาบริสุทธิ์ ประเด็นที่ทำวิจัยมากที่สุดได้แก่ ด้านจริยศาสตร์ ส่วนงานวิจัยด้านปรัชญาจีนที่เป็นปรัชญาประยุกต์ ประเด็นที่มีการทำวิจัยมากที่สุดคือปรัชญาสังคมและการเมือง
คำสำคัญ : สถานภาพองค์ความรู้ , การวิจัย , ปรัชญาจีน , ประเทศไทย
References
กัลยา สว่างคน และ เพ็ญพิสุทธิ์ สีกาแกว. (2565). การสังเคราะห์บทความวิจัยด้านภาษาจีนและการท่องเที่ยว
ในฐานข้อมูล ThaiJo. วารสารการบริหารและสังคมศาสตร์ปริทรรศน์. 5(6), 205-218.
ธันยพงศ์ สารรัตน์. (2564). สถานภาพองค์ความรู้เรื่องประวัติศาสตร์เมืองศรีสะเกษ. วารสารงานวิจัยและพัฒนา. 8(2), 1-17.
วิทยา พานิชล้อเจริญ. (2565). สถานภาพองค์ความรู้การวิจัยด้านภาพยนตร์ระดับบัณฑิตศึกษาในประเทศไทย. วารสารสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 10(1), 1-33.
สรายุทธ เลิศปัจฉิมนันท์. (2561). การสังเคราะห์สถานภาพการศึกษาด้านปรัชญาญี่ปุ่นในประเทศไทย. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. 11(1), 1-17.
สรัญญา คงจิตต์ และคณะ. (2554). สถานภาพความรู้และความเข้าใจ “ญี่ปุ่น” ของสังคมไทย: ศึกษาจากวิทยานิพนธ์ญี่ปุ่นศึกษา. (รายงานการวิจัย). เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม
สุภชา ศรีรัตนบัลล์. (2562). การสำรวจสถานภาพองค์ความรู้เกี่ยวกับนิทานพื้นบ้านไทยในประเทศจีน. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. 36(6), 143-174.
Fung, Yu–Lan. (1984). The Spirit of Chinese Philosophy (trans. E. R. Hughes), London: Routledge and Kegan Paul
Haiming, W. (2010). Chinese Philosophy Chinese Political Philosophy, Metaphysics, Epistemology and Comparative Philosophy. Beijing: China Intercontinental Press.
Hongladarom, S., & Vanichaka, P. (2022). A brief history of western philosophy in Thailand: mid seventeenth to the end of twentieth century. Asian Journal of Philosophy, 1(1), 1-20.
Hunter, M. (2018). The Lunyu as a Western Han Text. In M. Hunter, & M. Kern, (Eds.). Confucius and the Analects Revisited (pp. 67-91). Leiden: Brill.
Jiang, X. (2011). The Study of Chinese Philosophy in the English Speaking World. Philosophy Compass, 6(3), 168-179.
Jinyi, W. (2006). The concept of human nature in Wei-Jin Chinese philosophy. A Thesis for the Degree of Doctor of Philosophy. National University of Singapore.
Klein, E. (2010). Were there “Inner Chapters” in the Warring States? A new examination of evidence about the Zhuangzi. T'oung Pao, 96(4), 299-369.
Lai, K. (2008). An Introduction to Chinese Philosophy. Cambridge: Cambridge University Press.
Liu, J. (2006). An Introduction to Chinese Philosophy: From Ancient Philosophy to Chinese Buddhism. Oxford: Blackwell.
Qiyong, G. U. O. (2018). Studies on Contemporary Chinese Philosophy (1949–2009). Boston: Brill.
Stumpf, S.E. and Fieser, J. (2015). Philosophy A Historical Survey with Essential Readings, (9th edition). New York: McGraw-Hill Education.
Yao, X., & Yao, H. C. (2000). An Introduction to Confucianism. Cambridge: Cambridge University Press.