การใช้ระบบอุปถัมภ์เพื่อประกอบสร้างอัตลักษณ์ในการจัดการกลุ่มของกลุ่มทอผ้าไหมในจังหวัดขอนแก่น

Using the patronage system to identity construction in the group management of Silk Weaving groups in Khon Kaen Province

Authors

  • เบญจวรรณ นัยนิตย์ -
  • กีรติพร จูตะวิริยะ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • วิภาวี กฤษณะภูติ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Keywords:

Identity Construction, Patronage System, Management of Community Enterprise Groups

Abstract

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประกอบสร้างอัตลักษณ์ในการจัดการกลุ่มของกลุ่มทอผ้าไหมในจังหวัดขอนแก่นและวิเคราะห์การใช้ระบบอุปถัมภ์เพื่อประกอบสร้างอัตลักษณ์ในการจัดการกลุ่มของกลุ่มทอผ้าไหมในจังหวัดขอนแก่น ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์เจาะลึกและการสังเกตการณ์จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 24 ราย ได้แก่ ตัวแทนจากกลุ่มทอผ้าไหม และตัวแทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีวิเคราะห์เชิงพรรณนา

ผลการวิจัย พบว่า 1) กลุ่มทอผ้าไหมในจังหวัดขอนแก่นได้ประกอบสร้างอัตลักษณ์ในการจัดการกลุ่มด้วยการบอกเล่าให้สังคมรับรู้ความหมายของตัวตนของกลุ่มได้สร้างขึ้น ผ่านการจัดการกลุ่ม 9 ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดตั้งกลุ่ม ด้านการจัดการกลุ่ม ด้านการวางแผนการผลิต ด้านการจัดการการผลิต ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ด้านการตลาด ด้านการประชาสัมพันธ์  ด้านการเงิน และด้านการจัดทำบัญชี และ 2) กลุ่มทอผ้าไหมในจังหวัดขอนแก่นได้ใช้ระบบอุปถัมภ์ 4 ประเภท ได้แก่ การอุปถัมภ์ในหมู่เครือญาติ การอุปถัมภ์ในหมู่มิตรสหาย การอุปถัมภ์ในองค์กร และการอุปถัมภ์ระหว่างอาชีพ เพื่อประกอบสร้างอัตลักษณ์ในการจัดการกลุ่มทั้ง 9 ด้าน

คำสำคัญ:  การประกอบสร้างอัตลักษณ์, ระบบอุปถัมภ์, การจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน

References

Burke, Peter J. & Stets, Jan E. (2009). Identity Theory. New York, NY: Oxford. University Press.

Freese, L. & Burke, Peter J. (1994). Persons, Identities, and Social Interaction. Advances in Group

Processes, 11, 1-24.

Jasovska, P., Rammal, H. G., Rhodes, C., & Logue, D. (2023). Tapping foreign markets: Construction of

legitimacy through market categorization in the internationalizing craft beer industry. Journal of World Business, 101425.

Malacarne, T. (2017). Rich Friends, Poor Friends: Inter-Socioeconomic Status Friendships in Secondary

School. Socius: Sociological Research for a Dynamic World, 3, 1-13.

Navis, C., & Glynn, M. A. (2010). How New Market Categories Emerge: Temporal Dynamics of

Legitimacy, Identity, and Entrepreneurship in Satellite Radio, 1990–2005. Administrative Science Quarterly, 55(3), 439–471.

Neugarten, Bernice L. (1946). Social Class and Friendship Among School Children. American Journal of

Sociology, 51(4), 305-313.

Stets, Jan E. & Cast, Alicia D. (2007). Resources and Identity Verification From an Identity Theory

Prespective. Sociological Perspectives, 50 (4), 517-543.

Swidler, A. (1986). Culture in action: symbols and strategies. Am. Sociol. Rev. 51, 273-86.

Vergne, J.-P., & Wry, T. (2014). Categorizing Categorization Research: Review, Integration, and Future

Directions. Journal of Management Studies, 51(1), 56–94.

กรมทรัพย์สินทางปัญญา. (2559). สินค้า GI ในแต่ละภูมิภาค. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2566. จาก

https://www.ipthailand.go.th/th/gi-002.html

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2563). ผ้ามัดหมี่ลายแคนแก่นคูน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าไหมมัดหมี่

บ้านหัวฝาย จ. ขอนแก่น. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2566. จาก http://i-san.tourismthailand.org/6906/

กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์. (2558). การศึกษาระบบอุปถัมภ์กับปัญหาสังคมไทย: การประยุกต์ใช้ของ

นักสังคมสงเคราะห์วิชาชีพ. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23 (1), 177-197.

จุฑามาศ ดอนอ่อนเบ้า และจิรวัฒน์ พิระสันต์. (2563). นวัตกรรมการพัฒนาผ้าฝ้ายทอมืออัตลักษณ์ท้องถิ่น

จังหวัดเลย. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 12 (2), 22-42.

ชาย โพธิสิตา. (2559). ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง

แอนด์พับลิชชิ่ง.

ฐานริณทร์ หาญเกียรติวงศ์ รุจิกาญจน์ สานนท์ และทีปอุทัย แสนกาศ. (2563). ระบบอุปถัมภ์กับปัญหา

ความยากจนในประเทศไทย. วารสารวิชาการสังคมศาสตร์เครือข่ายวิจัยประชาชื่น, 2 (3), 1-13.

ธีรยุทธ บุญมี. (2533). ระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทย. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช.

นิทัศน์ เจียมศรีพงษ์ และสุจินดา เจียมศรีพงษ์. (2550). บทบาทและผลกระทบของระบบอุปถัมภ์ใน

ชนบทไทย. วารสารวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์, 2 (1), 71-98.

เบญจวรรณ นาราสัจจ์. (2552). ประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน. ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา.

ปรรณพัชญ์ จิตร์จำนงค์ พระครูธีรธรรมนุต ปัณณพงศ์ วงศ์ณาศรี และจิราภรณ์ ชูชำนาญ. (2565).

ระบบอุปถัมภ์กับภาพสะท้อนในสังคมไทย. วารสารรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2 (3), 109-128.

ผกามาศ บุตรสาลี แก้วมณี อุทิรัมย์ และอุดมพงษ์ เกศศรีพงษ์ศา. (2562). แนวทางการพัฒนาศักยภาพใน

การสร้างเอกลักษณ์สินค้าเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนกลุ่มทอผ้าย้อมครามบ้านโพนก่อ ตำบลท่าก้อน อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 14 (2): 46-56.

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์. (2561). จากไทยแลนด์คัพ สู่ โปรวินเชียลลีก พลวัตของ “จังหวัดนิยม” และพลัง

ของระบบอุปถัมภ์ในกีฬาฟุตบอลไทย. วารสารสหวิทยาการ วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 15 (1), 8-41

ลัดดา ประสาร พชร ผลนาค และ กาญจนีย์ ดวงห้อย. (2565). การมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อพัฒนาศักยภาพ

ในการประกอบอาชีพ. วารสารวิทยาการจัดการและการสื่อสาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, 1 (1), 42-68.

วัชรวุฒิ ซื่อสัตย์ และวัชรพล พุทธรักษา. (2558). ระบบแม่ [กะเทย]: ศิลป์และศาสตร์การครองอำนาจนำใน

สังคมกะเทยไทย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 15 (2), 101-118.

วิภาวี กฤษณะภูติ. (2559). การจัดการวิสาหกิจชุมชน. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ. (2561). โครงการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทออีสานด้วยนวัตกรรม

(จังหวัดขอนแก่น อุดรธานี และสุรินทร์) ปี 2561. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2566. จาก https://www.thaitextile.org/th/esan-inno-fabric/KhonKaen.php

สนิท สมัครการ. (2533). สถาบันครอบครัว เครือญาติ และระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทย. นนทบุรี:

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช.

สมศักดิ์ สามัคคีธรรม. (2554). การสถาปนาอำนาจของผู้ไร้อำนาจ. กรุงเทพฯ: มาฉลองคุณ เอสบี.

สุภาพร เพชรัตน์กูล ชัชวาล แสงทองล้วน กาญจนา พันธุ์เอี่ยม และอธิธัช สิรวริศรา. (2566). การพัฒนา

กลยุทธ์การตลาดสำหรับวิสาหกิจชุมชนในกลุ่มประเภทอาหารแปรรูปจากสับปะรด ในเขต

ภาคกลางตอนล่าง กลุ่ม 2. วารสารวิชาการ การจัดการภาครัฐและเอกชน, 5 (1), 64-82.

สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย. (2563).

ฐานข้อมูล หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ: สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน.

อคิน รพีพัฒน์. (2548). ระบบอุปถัมภ์กับการพัฒนาสังคม: ด้านหนึ่งในการเปลี่ยนแปลงสังคมไทย.

การแสดงปาฐกถาพิเศษ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ครั้งที่9 คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจากัด สามลดา.

อชิตพล ตากันธะ. (2563). ระบบอุปถัมภ์: อุปสรรคการพัฒนาพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย.

วารสารสันติสุขปริทรรศน์, 1 (2): 47-60.

Downloads

Published

2024-03-26

How to Cite

นัยนิตย์ เ. ., จูตะวิริยะ ก., & กฤษณะภูติ ว. . (2024). การใช้ระบบอุปถัมภ์เพื่อประกอบสร้างอัตลักษณ์ในการจัดการกลุ่มของกลุ่มทอผ้าไหมในจังหวัดขอนแก่น: Using the patronage system to identity construction in the group management of Silk Weaving groups in Khon Kaen Province. Journal of Humanities and Social Sciences (HUSOKKU), 41(1), 122–143. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HUSO/article/view/269330

Issue

Section

บทความวิจัย