Focus on Form and Grammar Teaching: Implications for EFL Contexts

Authors

  • Chomraj Patanasorn Khon Kaen University, Nong Kai Campus
  • Angkana Tongpoon-Patanasorn Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University

Keywords:

การสอนไวยากรณ์, การเรียนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ, การสังเกตุเห็นความผิดพลาดของไวยากรณ์ในบริบทการสนทนา, Grammar teaching, EFL, Focus on Form

Abstract

บทคัดย่อ

ในปัจจุบัน การศึกษาด้านการเรียนรู้ภาษาที่สองได้กลับมาให้ความสนใจอิทธิพลของไวยากรณ์ต่อการเรียนรู้ภาษาที่สองอีกครั้ง  หลังจากที่การเรียนการสอนไวยากรณ์ลดบทบาทลงในช่วงที่การเรียนการสอนภาษาอังกฤษเน้นด้านการเรียนภาษาเพื่อการสื่อสาร  เนื่องจากได้มีการศึกษาและพบว่าความรู้ไวยากรณ์เป็นปัจจัยที่สำคัญในการพัฒนาภาษาที่สองและนำไปสู่การใช้ภาษาที่ถูกต้อง  แต่อย่างไรก็ตามไวยากรณ์ในบริบทใหม่นี้มีการสอนที่แตกต่างจากการสอนไวยากรณ์ในแบบดั้งเดิม แต่อยู่ในรูปแบบที่เรียกว่า การสังเกตเห็นความผิดพลาดของไวยากรณ์ในบริบท  งานวิจัยทางด้านการรับภาษาที่สองแสดงให้เห็นว่า การสอนไวยากรณ์แบบให้ผู้เรียนสังเกตเห็นข้อผิดพลาดในบริบททำให้เกิดการพัฒนาทางด้านภาษาของผู้เรียน  อย่างไรก็ตามการสอนวิธีนี้ยังไม่ค่อยนำมาใช้มากนักโดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริบทการเรียนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ  ดังนั้น วัตถุประสงค์ของบทความนี้เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับคำจำกัดความของการสอนไวยากรณ์ในรูปแบบนี้  ข้อแตกต่างระหว่างการสอนแบบนี้และการสอนแบบเน้นไวยากรณ์  และการนำการสอนแบบสังเกตเห็นข้อผิดพลาดในบริบทมาใช้ในการเรียนการสอนไวยากรณ์ในบริบทการเรียนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ

คำสำคัญ : การสอนไวยากรณ์, การเรียนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ, การสังเกตุเห็นความผิดพลาดของไวยากรณ์ในบริบทการสนทนา

 

Abstract

Roles of grammar in language teaching have been reconsidered.  Once neglected in communicative language classrooms, grammar is now viewed as one crucial factor in improving learners’ accuracy and language acquisition.  However, grammar is no longer to be taught using a traditional grammar approach, but utilizing a new approach called focus on form.  A number of studies in Second Language Acquisition reveal positive effects of focus-on form instruction on learners’ acquisition.  Nevertheless, this has not yet been effectively transferred to language teaching, particularly in EFL contexts.  This paper, therefore, aims at discussing grammar teaching and the notion of FonF by considering diverse definitions of focus on form, the difference between focus on form (FonF) and focus on forms (FonFs), the effectiveness of FonF on learners’ acquisition, and the implications of grammar teaching for EFL teachers of focus on form.

Keywords : Grammar teaching, EFL, Focus on Form

Downloads

How to Cite

Patanasorn, C., & Tongpoon-Patanasorn, A. (2013). Focus on Form and Grammar Teaching: Implications for EFL Contexts. Journal of Humanities and Social Sciences (HUSOKKU), 29(1), 89–110. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HUSO/article/view/6146

Issue

Section

บทความวิชาการ