Si Phaendin and the Construction of the Female Gender Role

Authors

  • Orathai Piayura Assistant Professor in Thai Language and Literature, Department of Thai, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University.

Keywords:

gender, functionalism, Si Phaendin

Abstract

บทคัดย่อ

เรื่องสี่แผ่นดินแต่งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2496 โดย ม.ร.ว. คืกฤทธิ์ ปราโมช ตัวละครเอกของเรื่องคือพลอยจึงถูกสร้างขึ้นให้ประพฤติตนตามบทบาททางเพศสภาพของตนและสถานะทางสังคมโดยดุษณีจากมุมมองของนักเขียนชายในสังคมปิตาธิปไตยอย่างสังคมไทย โดยพลอยถูกนำเสนอให้มีความสุขในการได้ทำหน้าที่ของผู้หญิงตามที่สังคมกำหนดคือเป็นลูกสาวที่เชื่อฟังพ่อแม่ ภรรยาที่อ่อนหวานและเชื่อฟังสามีและเป็นแม่ที่อุทิศตนเพื่อลูก ซึ่งความสุขในชีวิตของพลอยนี้ถูกสร้างจากมุมมองของนักเขียนชายที่สร้างตัวละครหญิงตามอุดมคติของตนและจินตนาการจากกรอบแนวคิดของสังคมแบบชายเป็นใหญ่ว่าการประพฤติตนเช่นนั้นเป็นสิ่งที่ตัวละครหญิงพอใจและมีความสุข ดังนั้นความสุขของพลอยจึงเป็นความสุขที่ถูกประกอบสร้างโดยนักเขียนชายที่ได้รับอิทธิพลจากสังคมแบบชายเป็นใหญ่หาใช่ความสุขที่แท้จริงของผู้หญิงไม่

 

ABSTRACT

Si Phaendin was composed in 1953 by Mom Rajawongse (M.R.) Kukrit Pramoj. His main characters, Phloi was composed to behave according to her gender role and status in society without being rebellious or questioning. The main character of the story, Phloi, was presented according to “the good woman” stereotype in Thai society. She enjoyed being a good daughter, good wife and good mother. These characteristics of Phloi were composed by a male writer whose imagination was framed by patriarchy. Her happiness was also presented from the male writer’s point of view which may not be a genuine happiness as a woman.

Keywords : gender, functionalism, Si Phaendin

Downloads

How to Cite

Piayura, O. (2013). Si Phaendin and the Construction of the Female Gender Role. Journal of Humanities and Social Sciences (HUSOKKU), 28(3), 35–50. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HUSO/article/view/6155

Issue

Section

บทความวิชาการ