บทละครเวทีแบบ Stylization เรื่อง สี่แผ่นดิน: การใช้พื้นที่และการสื่อความหมาย

Authors

  • ฤทธิรงค์ จิวากานนท์ อาจารย์ประจำภาควิชาศิลปการละคร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Keywords:

สี่แผ่นดิน, ละครเวที, การใช้พื้นที่แสดง, การออกแบบฉาก

Abstract

บทคัดย่อ

บทความวิจัยเชิงสร้างสรรค์นี้ มีจุดมุ่งหมายที่จะวิเคราะห์บทละครแบบ Stylization เรื่องสี่แผ่นดิน ของ จักรกฤษณ์ ดวงพัตรา จากนวนิยายเรื่องเยี่ยม ของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ถึงประเด็นการใช้พื้นที่แสดงและการสื่อความหมาย ตลอดจนการเล่าเรื่องและการนำเสนอซงึ่ นำไปสู่การออกแบบพื้นที่แสดงและฉาก

คำสำคัญ : สี่แผ่นดิน, ละครเวที, การใช้พื้นที่แสดง, การออกแบบฉาก

 

Abstract

This creative research is an attempt in analysis of “Si Pan Din”, an stylized play by Jackkit Duanpattra, adapted from the outstanding novel by M.R. Kukrit Pramoj, on the use of performance space and its meanings, including the story telling and the presentation that lead to the performance space and scenery design.

Downloads

How to Cite

จิวากานนท์ ฤ. (2013). บทละครเวทีแบบ Stylization เรื่อง สี่แผ่นดิน: การใช้พื้นที่และการสื่อความหมาย. Journal of Humanities and Social Sciences (HUSOKKU), 28(3), 149–176. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HUSO/article/view/6214

Issue

Section

บทความวิชาการ