การวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอลระหว่างความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) กับส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ของสถานีตำรวจภูธรหันคา จังหวัดชัยนาท

ผู้แต่ง

  • ประกาศ ปาวา ทองสว่าง สาขาวิชาการตลาด, วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

คำสำคัญ:

ความสัมพันธ์คาโนนิคอล, ความรับผิดชอบต่อสังคม, ส่วนประสมทางการตลาด

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) และส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) รวมถึงความสัมพันธ์คาโนนิคอลระหว่างความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) กับส่วนประสมทางการตลาด (7Ps)
       ผลการศึกษาพบว่า ความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) และส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) มีความสัมพันธ์อยู่ในระดับที่ยอมรับได้และเมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์คาโนนิคอล พบว่า ความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) มีความสัมพันธ์กับส่วนประสมทางการตลาด โดยมีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์คาโนนิคอล เท่ากับ 0.24 โดยความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) มีค่าน้ำหนักความสำคัญคาโนนิคอลระหว่าง 0.07-0.70 และส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) มีค่าน้ำหนักความสำคัญคาโนนิคอลระหว่าง 0.08-0.83

 

References

ชดาษา อิ่มสําราญ. (2554). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตํารวจ สถานีตํารวจนครบาลบางเขน. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต.คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก.

นันท์นภัส วงษ์พาณิทอักษร. (2558, มกราคม-มิถุนายน). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของสถานีตำรวจตาม โครงการโรงพักเพื่อประชาชน: ศึกษากรณีสถานีตำรวจบางบัวทอง นนทบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 8(1).

สุวัตถิ์ ไกรสกุล,จุฑาภรณ์ คงรักษ์กวิน. (2559, กรกฎาคม–ธันวาคม). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของพนักงานสอบสวนในเขตพื้นที่สถานีตำรวจภูธรบางกรวย. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร, 8(2).

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2541). กลยุทธ์ การตลาด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพบรรณ์กิจ.

European Commission. (2011).New european policy on corporate social responsibility. (Brussels, 25 Oct. 2011).

Kotler, P. (1997). Marketing management: analysis, planning, implementation and control. 14 th Global Ed., Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.

Kotler, P.; & Nancy, Lee. (2005). Corporate Social Responsibility. Hoboken, New Jersey: John Wiley & Sons, Inc.

International Trade Centre, UNCTAD/GATT. (1994).Textiles and clothing: an introduction to quality requirements in selected markets. UNCTAD: Geneva.

World Business Council for Sustainable Development. (1999). Corporate social responsibility: meeting changing expectations. World Business Council for Sustainable Development: Geneva.

_______. (2000). Corporate social responsibility: making good business sense. World Business Council for Sustainable Development: Geneva.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-28