ความคาดหวังของผู้ประกอบการที่มีต่อคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ในยุคฐานวิถีชีวิตใหม่

ผู้แต่ง

  • เทพรัตน์ เอื้อธรรมถาวร วิทยาลัยนครราชสีมา
  • พรทิพย์ เอื้อธรรมถาวร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

คำสำคัญ:

ความคาดหวัง, ผู้ประกอบการ, คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์

บทคัดย่อ

บทความนี้กล่าวถึงความคาดหวังของผู้ประกอบการที่มีต่อคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ในยุคฐานวิถีชีวิตใหม่จากศึกษาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ที่มีต่อความความหวังของผู้ประกอบการ และ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบการและตลาดแรงงาน ผลจากการศึกษา พบว่า ผู้ประกอบการมีความคาดหวังคุณลักษณะบัณฑิตที่พึ่งประสงค์ในระดับมากที่สุด 3 ลำดับแรก คือ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รองลงมา คือ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และด้านความรู้และทักษะทางปัญญา รวมทั้งใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาและปรับหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการและความคาดหวังของผู้ประกอบการ โดยเน้นการพัฒนาโครงการและกิจกรรมให้นักศึกษามีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัลในการสื่อสารและการรวบรวมข้อมูลข่าวสารในการทำงานความสามารถในการยืดหยุ่นและการปรับตัวพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงและมองหาโอกาส การนำความรู้ทางทฤษฎีที่เรียนมาไปประยุกต์ใช้กับงานจริงได้ เน้นกิจกรรมการเรียนการสอนที่สร้างทักษะการทำงานร่วมกันเป็นทีม การประสานงาน การมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อผู้อื่น มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย รู้จักจัดลำดับความสำคัญของการทำงาน ส่งผลให้มีทักษะทางปัญญาที่สามารถแก้ไขปัญหาจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้ และมีความคิดสร้างสรรค์ กล้าคิดนอกกรอบ ใฝ่เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา รวมทั้งปลูกฝังให้นักศึกษามีคุณธรรมและจริยธรรม ทั้งด้านจริยธรรมในการทำงาน และจริยธรรมคุณธรรมในวิชาชีพ เพื่อให้ครอบคลุมกับความคาดหวังของผู้ประกอบการที่มีต่อคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ในยุคฐานวิถีชีวิตใหม่ทั้ง 3 ด้าน

References

กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. (2563). ‘Next normal’ คืออะไร?เมื่อโควิด-19 ผลักเราสู่ชีวิต'ปกติวิถีใหม่'!กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. สืบค้นวันที่ 27 พฤษภาคม2563 จาก https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/882508.

ฉัตรชัย อินทสังข์และคณะ. (2563, กรกฎาคม – ธันวาคม). คุณลักษณะบัณฑิตหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการตลาดและความพึงพอใจของผู้ประกอบการ. วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ. 6(2), หน้า 1-13.

ชนินาถ ทิพย์อักษรและคณะ. (2560). คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตามความต้องการของสถานประกอบการในเขตพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. โครงการวิจัยหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

ชูชัย สมิทธิไกร. (2548, กรกฎาคม- กันยายน). ศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษามหาวิทยาลัยไทย, วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 11: หน้า 256

ณัฐผไท สุทธิเสริม. (2564). การเป็นผู้ประกอบการ. สืบค้นวันที่ 16 กันยายน 2564 จาก: https://sites.google.com/site/natpatai24456/hnwy-thi4-kar-pen-phu-prakxb-kar.

ดนัย เทียนพุฒ.(2532, พฤศจิกายน). นักวิสาหกิจผู้ประกอบการในองค์การ. วารสารคลังสมอง. 77, หน้า 72-75.

ฤทัย นิธิธนวิชิต. (2553). ความคาดหวังและสิ่งที่ได้รับของผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและเอกชน มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ฤทธิ์ ตันติพนารัตน์.(2543).ทักษะความเป็นผู้ประกอบการ : กรณีศึกษานิสิตโครงการปริญญาโทสาขาบริหารธุรกิจ ภาคค่ำ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

เทพรัตน์ เอื้อธรรมถาวร และคณะ. (2558). ความคาดหวังบัณฑิตของผู้ประกอบการต่อบัณฑิตหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ กรณีศึกษา ผู้ประกอบการในจังหวัดนครราชสีมา. รายงานการประชุมวิชาการและการนำเสนองานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3 วิทยาลัยนครราชสีมา วันที่ 17 มิถุนายน 2559 , หน้า 474 - 481.

“10 ทักษะในยุค Next normal ที่ควรมี”. (2563). สืบค้นวันที่15ธันวาคม2564.จาก https://www.coreandpeak.co.th/post/10%E0%B8%97E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B0%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%84newnormal%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A1.

ทักษะที่ต้องมีในยุค “Next normal". (2564). สืบค้นเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2564 จาก https://www.doe.go.th/prd/assets/upload/files/vgnew_th/938b6cfac62681b75b96643b8754be2e.pdf.

นัฐพงษ์ สาระเมฆ.(2562). คุณลักษณะบัณฑิต หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่นในศตวรรษที่ 21 ตามความคาดหวังขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

ผุสดี รุมาคม. (2540). การบริหารธุรกิจขนาดย่อม. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.

พรพิมล ริยาย และคณะ. (2556). ความคาดหวังของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ที่มีต่อเนื้อหารายวิชาการศึกษาระดับอุดมศึกษา.(รายงานการวิจัย). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยนอร์ทเชียงใหม่.

ภัทรวดี สอนเวียงและคณะ. (2563, มกราคม – มิถุนายน). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของพนักงานในอาชีพทางธุรกิจตามความต้องการของสถานประกอบการ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 3(1), หน้า 75-86.

แมนพาวเวอร์กรุ๊ป ประเทศไทย. (2564).10 ทักษะ แรงงานยุคโควิดต้องมี. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2564 จาก : https://www.manpowerthailand.com/th/blog/2020/12/skill-must-have-in-covid-era-th.

วิบูล จูง. (2555). คุณลักษณะคุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์จากผลผลิตของมหาวิทยาลัย. สืบค้นวันที่ 16กันยายน2564 จาก: http://www.bloggang.com/ mainblog.php?id=wbj&mounth=16-07-2009& grounp=11glob=12.

วิลัยพร ยาขามป้อม. (2555). คุณลักษณะบัณฑิตบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการตามความต้องการของผู้ประกอบการในเขตอำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย. มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย.

วรลักษณ์ ลลิตศศิวิมล. (2560, กันยายน - ตุลาคม). ความคาดหวังทักษะที่พึงประสงค์ของผู้ประกอบการในเขตพื้นที่ภาคใต้.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 36(5), หน้า 133-141.

สมพร ปานยินดี และคณะ. (2550). ลักษณะความเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม. รายงานวิจัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.(2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12(พ.ศ.2560-2564). สืบค้นวันที่ 16 กันยายน 2564 จาก:https://www .nesdc.go.th/ewt_news.php?nid=6420&filename=develop_issue.

สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. (2560). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา. สืบค้นเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2564 จาก http://www.mua.go.th/users/tqf-hed/.

สนทยา เขมวิรัตน์. (2549). ความคาดหวังของผู้บริหารสถานประกอบการที่มีต่อคุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพณิชยการพระนคร.วารสารกำแพงแสน. 4(3), หน้า 41-46.

Hodgetts, R.M. & Kuratko, D.F. (1996). Effective small business management. 2nd ed., New York: Harcourt Brace Jovanovich Inc.

Jones, R.G. and George, M.J. (2003). Contemporary Management. 3rd ed., New York: McGraw –Hill.

“Next normal Skills: 5 ทักษะจำเป็นที่คนทำงานควรมี”. (2563). สืบค้นวันที่ 15 ธันวาคม 2564, จาก https://adecco.co.th/th/knowledge-center/detail/new-normal-skills-2020

Workpoint today. (2564). 6 กรณีศึกษา สู่ 6 ทักษะสำคัญในการเอาตัวรอดยุคหลังโควิด-19. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2564 จาก https://workpointtoday.com/new-normal-covid-19-skills/.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-29