Inheritance and development of Guangdong Music Culture under the background of Guangdong Greater Bay Area

ผู้แต่ง

  • Liu Dajian คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
  • Panya Roongruang คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

คำสำคัญ:

Guangdong - Hong Kong - Macao Greater Bay Area, Guangdong Music Culture

บทคัดย่อ

       การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ทราบสถานการณ์ปัจจุบันของดนตรีกวางตุ้งในเขตเวิ้งกวางตุ้ง-ฮ่องกง-มาเก๊า ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพในแบบการวิจัยทางมานุษยดุริยางควิทยา เก็บข้อมูลด้วยการสำรวจสภาพทางดนตรี การแสดงดนตรีและสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก แหล่งศึกษาคือเขตกวางตุ้ง เขตฮ่องกง และมาเก๊า ซึ่งเรียกโดยรวมว่าเขตอ่างใหญ่แห่งกวางตุ้ง เครื่องมือวิจัยได้แก่แบบสำรวจและแบบสัมภาษณ์ ดำเนินงานระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนสิงหาคม พศ.2563
       ผลการวิจัย พบว่า ดนตรีกวางตุ้งมีความสำคัญโดยเป็นวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ในเขตอ่าวใหญ่กวางตุ้งซึ่งเป็นบริเวณที่ได้รับการพัฒนา จึงมีความจำเป็นที่ต้องดำเนินการด้านดนตรีในสองแบบ คือ หนึ่งอนุรักษ์ และสองการพัฒนาให้ทันสมัยขึ้น สภาพปัจจุบันของดนตรีกวางตุ้งพบในสามด้าน คือ 1) ด้านความเปลี่ยนของหน้าที่ของดนตรีในสังคม 2) ด้านการพัฒนาทางกายภาพและเศรษฐกิจในชนบท และ 3) ด้านการขยายอิทธิพลดนตรีตะวันตก จุดสำคัญของพัฒนาการทางดนตรีในเขตนี้ ได้แก่ 1) การเพิ่มการศึกษาดนตรีแบบเดิมที่แท้จริง 2) การปรับปรุงรูปแบบทางวัฒนธรรมดนตรีและระบบการศึกษา และ 3) การพัฒนาดนตรีให้ทันสมัย

References

Liu, J. (2019). Guangdong music from the perspective of ecological aesthetics. Beijing: China Social Sciences Press.

Lu, Q. W. (1997). Guangdong rhyme review. Guangzhou: Guangdong Higher Education Press.

Tian, L. M., & Liu, J. (2016). The Role of Folk Organizations in the Inheritance and development of Guangdong Music - A case study of Guangdong Music Association in GuangDong province. The Popular Arts (14), 145-146.

Yu, H. H. (2007). Brief Discussion on the Inheritance and development of Guangdong Music -Some Thoughts on the Protection of National Folk Art. Taste (04), 8 and 9.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-28