อิทธิพลของแรงจูงใจ การจัดการโลจิสติกส์ และนวัตกรรมการตลาดที่ส่งผลต่อความภักดีในตราสินค้าของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงามของกลุ่มผู้บริโภคออนไลน์ในประเทศไทย
คำสำคัญ:
แรงจูงใจ , การจัดการโลจิสติกส์ , นวัตกรรมการตลาด , ความภักดีในตราสินค้า , ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงามบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับของแรงจูงใจ การจัดการโลจิสติกส์ นวัตกรรมการตลาด และความภักดีในตราสินค้าของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงามของกลุ่มผู้บริโภคออนไลน์ในประเทศไทย 2) ตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของแรงจูงใจ การจัดการโลจิสติกส์ และนวัตกรรมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อความภักดีในตราสินค้าของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงามที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 3) ศึกษาอิทธิพลของแรงจูงใจ การจัดการโลจิสติกส์ และนวัตกรรมการตลาดที่ส่งผลต่อความภักดีในตราสินค้าผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงาม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริโภคที่เคยสั่งซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงามในประเทศไทยผ่านช่องทางออนไลน์ จำนวน 385 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิหลายขั้น เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการโครงสร้าง ผลการวิจัย พบว่า 1) ผู้บริโภคมีแรงจูงใจในระดับมาก มีความคิดเห็นด้านการจัดการโลจิสติกส์และด้านนวัตกรรมการตลาดในระดับมาก และมีความภักดีในตราสินค้าในระดับมาก 2) ตัวแบบสมการโครงสร้างของแรงจูงใจ การจัดการโลจิสติกส์ และนวัตกรรมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อความภักดีในตราสินค้าของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงามของกลุ่มผู้บริโภคที่พัฒนาขึ้นสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์และ 3) แรงจูงใจ และการจัดการโลจิสติกส์มีอิทธิพลทางตรงต่อนวัตกรรมการตลาด และมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความภักดีในตราสินค้าผ่านนวัตกรรมการตลาด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนวัตกรรมการตลาดมีอิทธิพลต่อความภักดีในตราสินค้าของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงามของกลุ่มผู้บริโภคออนไลน์ในประเทศไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
References
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2564). การมอบรางวัล DBD - Logistics Management Award. ประจำปี 2562. กองส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า.
การเคหะแห่งชาติ. (2565). รายงานข้อมูลประชากรและบ้าน 2564. กรุงเทพฯ: กองยุทธศาสตร์และสารสนเทศที่อยู่อาศัย.
จักรี ศรีจารุเมธีญาณ และสุรศักดิ์ อุดเมืองเพีย. (2020). แรงจูงใจในการทำงาน: ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้. วารสาร มจร.อุบลปริทรรศน์, 5(1), 424-436.
พิสิฐ กมลวัทนนิศา และอรพรรณ คงมาลัย. (2563). การยอมรับหลักสูตรปริญญาโทออนไลน์ของกลุ่ม Gen Y ในยุคดิจิทัล. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 11 “Global Goals, Local Actions: Looking Back and Moving Forward 2020”, วันที่ 27 มีนาคม 2563 ณ ห้องประชุมช่อแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร, หน้า 385-395.
ละเอียด ศิลาน้อย. (2560). การใช้สูตรทางสถิติ (ที่ถูกต้อง) ในการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างเพื่อการวิจัยเชิงปริมาณในทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 12(2), 50-61.
Anandan R, et al. (2013). Antiaging effect of dietary chitosan supplementation on glutathione-dependent antioxidant system in young and aged rats. Cell Stress Chaperones. DOI 10.1007/s12192-012-0354-2, pp.121-124.
Bahari, A. F., & Baasalamah, J. (2020). Attributes and characteristics of Ad Spots: An Analysis of Motivation and Brand Loyalty. Jurnal Manajemen Bisnis, 7(2), 91-101.
Claudia, M. & Rebecca, R. (2021). Motivation to Innovate: A multiple-case study of marketing innovation in small firms during a crisis. Independent thesis Basic level, Bachelor Programme in Business and Economics, Uppsala University.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis a global perspective. 5th ed., USA: Pearson Education.
Hurley, R. & Hult, T.M. (1998). Innovation, Market Orientation, and Organizational Learning: An Integration and Empirical Examination. Journal of Marketing. 62(3), 42-54.
Kanagavalli, G., & Azeez, R. (2019). Logistics and E- Logistics Management: Benefits and Challenges. International Journal of Recent Technology and Engineering (IJRTE), 8(4), 12804-12809.
Khazanie, R. (1996). Statistics in a World of Applications. 4th ed., New York, USA. HarperCollins College Publishers.
Kotler, P. & Keller, K.L. (2009). Marketing Management, 4th ed., Published by Pearson Education, Inc.
Lages, L.F., Silva, G., & Styles, C. (2009). Relationship Capabilities, Quality, and Innovation as Determinants of Export Performance. Journal of International Marketing, 17(4), 47-70.
Lee, J. S. & Hsieh, C. J. (2010, September). A research in relating entrepreneurship, marketing capability, innovative capability and sustained competitive advantage. Journal of Business & Economics Research, 8(9), 109-119.
Liu, C. et al. (2021). The Impact of the Fear of COVID-19 on Purchase Behavior of Dietary Supplements: Integration of the Theory of Planned Behavior and the Protection Motivation Theory. Sustainability, 13, 12900, https://doi.org/10.3390/su132212900.
Michele, O., Audrey, G., & David, C. (2009). Innovative marketing in SMEs: an empirical study. Taylor & Francis, 7(5), 383–396.
Naidoo, V. (2010). Firm survival through a crisis: The influence of market orientation, marketing innovation and business strategy. Industrial Marketing Management, 10.
Sari, D. (2000). The Impact of Pepsodent Product Series Ads on Consumer Purchasing Decisions. Thesis. Petra Christian University.
Schiffman, L.G. & Kanuk, L.L. (2004). Consumer Behavior. 8th ed., New Jersey: Prentice Hall.
Sharko, V. (2020). Logistics and marketing support of innovative development of the enterprise. In: Paradigme moderne în dezvoltarea economiei naţionale şi mondiale. 30-31 octombrie 2020, Chisinău. Chişinău: Centrul Editorial-Poligrafic al USM, 2020, pp. 170-175.
Suresh, S. & Vasantha, S. (2018). Influence of 7R in Logistics Industry towards Customer Satisfaction. International Journal of Engineering & Technology, 7(4), 49-58.
Thanh, T. T. et al. (2020). Determinants of marketing innovation among SMEs in Vietnam: a resource based and stakeholder perspective. Journal of Innovative Marketing, 16(4), 74-90.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.