การจัดการวางแผนการตลาดเชิงกลยุทธ์ธุรกิจแปรรูปข้าวจังหวัดอุบลราชธานี

ผู้แต่ง

  • กานต์ วัฒนะประทีป สาขาวิชาการจัดการ, วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม
  • สุภาวดี สมศรี สาขาวิชาการบัญชี, วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม
  • ทิพย์สุดา หมื่นหาญ สาขาวิชาการจัดการ.,วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

คำสำคัญ:

การจัดการ, วางแผนการตลาดเชิงกลยุทธ์, ธุรกิจแปรรูปข้าว

บทคัดย่อ

การจัดการวางแผนการตลาดเชิงกลยุทธ์ธุรกิจแปรรูปข้าวจังหวัดอุบลราชธานี ประกอบด้วยการวิเคราะห์สภาพภูมิศาสตร์พื้นที่การปลูกข้าวหอมมะลิในเขตอำเภอเมือง เขื่องใน วารินชำราบ เดชอุดม บุณฑริก และพิบูลมังสาหาร สำโรง ส่วนข้าวเหนียวในพื้นที่เขื่องใน พิบูลมังสาหาร เดชอุดม บุณฑริก ตระการพืชผล ศรีเมืองใหม่  ตาลสุม การออกแบบกลยุทธ์ทางการตลาด เกษตรกรเรียนรู้กลไกลการตลาดร่วมกับองค์กรภาครัฐจัดตั้งกองทุนค้ำประกันราคาข้าวถึงยุ้งฉาง เพื่อให้เกษตรกรกู้ยืมเงินไปใช้หนี้สินก่อน
รอเวลาข้าวขึ้นราคาจึงนำข้าวไปจำหน่าย การวางแผนการตลาดเชิงกลยุทธ์ธุรกิจแปรรูปข้าวจังหวัดอุบลราชธานี เกษตรกรหรือผู้ประกอบการ ได้วิเคราะห์ถึงความคาดหวัง ความต้องการและพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เพื่อตอบสนองความพึงพอใจในการตัดสินใจที่จะซื้อสินค้าหรือบริการ

References

กรมการข้าว. (2551). ศูนย์ข้าวชุมชน. กลุ่มส่งเสริมการผลิตและจัดการผลผลิต สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว.

กรมการค้าต่างประเทศ. (2567). สรุปปี 66 ไทยส่งออกข้าวทะลุเป้า 8.76 ล้านตัน เพิ่ม 13.62% ปี 67 ลดเหลือ 7.5 ล้านตัน. https://shorturl.asia/I4Prg

กรมประชาสัมพันธ์. (2565). ข้าวรักษ์โลกกับการแก้ไขปัญหาข้าวไทย. https://www.prd.go.th/th/content/category/detail/id/39/iid/136186

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2559) องค์ความรู้เรื่องข้าว. https://newwebs2.ricethailand.go.th/webmain/rkb3/

โชติรส นพพลกรัง และคณะ. (2566) การศึกษาการจัดการโซ่อุปทานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวหอมมะลิ 105 บ้านยาง โดยใช้ตัวแบบจำลองอ้างอิงการดำเนินงานโซ่อุปทาน วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 3(1), 22-32.

เดลินิวส์. (2566). น่าตกใจ! คนไทยเมินกินข้าว อัตราบริโภคลดฮวบ พาณิชย์ ห่วงเกษตรกรเดือดร้อน https://www.dailynews.co.th/news/2018453/

ธงชัย สุวรรณสิชณน์. (2560ก). ข้าวหอมมะลิ ห้อมหอม “คงความหอมมะลิข้าวหอมมะลิไทยตลอดห่วงโซ่”. สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ธงชัย สุวรรณสิชณน์. (2560ข). KU สร้างสรรค์ข้าวไทย ศาสตร์แห่งแผ่นดิน เพื่อความกินดีอยู่ดี. สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2566). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570). สำนักฯ

รณชัย ช่างศรี และคณะ. (2558). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อคุณภาพข้าวหอมมะลิไทย. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ ข้าวและธัญพืชเมืองหนาว ประจำปี 2558 หน้า 191-230.

ระบบสารสนเทศวิสาหกิจชุมชน กองส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน กรมส่งเสริมการเกษตร. (2567). https://shorturl.asia/gSdte.

ศูนย์วิจัยข้าวอุบลราชธานี. (2563). งานบริการเพื่อรองรับเกษตรกรและรองรับงานวิจัย ด้านการวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารพืชในดิน ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปลดปล่อยจากนาข้าว และการส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลในการผลิตข้าว. https://ubn-rrc.ricethailand.go.th/page/3378

สมนึก ปัญญาสิงห์ และเศกสรรค์ ยงวณิชย์. (2565) การจัดการของกลุ่มเกษตรกรผลิตข้าวอินทรีย์กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนกลุ่มข้าวคุณค่า เกษตรกรคุณธรรมบ้านโนนทรายงาม. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 7(1), 1-20.

สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี. (2565). การแปรรูปผลผลิตด้านการเกษตร ข้าวหอมมะลิอุบลราชธานี สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของจังหวัดอุบลราชธานี.https://www.esanpedia.oar.ubu.ac.th/esaninfo/?p=6102

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2565). ตารางแสดงรายละเอียดข้าวนาปรัง. https://shorturl.asia/i1wyx

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2566). วารสารเศรษฐกิจการเกษตร เดือนพฤศจิกายน 2566. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

Champagne, E.T. (2008). Rice aroma and flavor: A literature review. Cereal Chemistry, 85, 445-454.

Lam, H.S. & Proctor, A. (2003). Milled Rice Oxidation Volatiles and odor Development. Journal of Food Science, 68(9), 2676-2681.

Shin, M.G., Yoon, S.H., Rhee, J.S., & Kwon, T.W. (1986). Correlation between Oxidative Deterioration of Unsaturated Lipid and Normal-Hexanal During Storage of Brown Rice. Journal of Food Science, 5, 460-463.

Sunthonvit, N., George S., & John C. (2005). Comparative Study of Effects of Drying Methods and Storage. Conditions on Aroma and Quality Attributes of Thai Jasmine Rice. Drying Technology. 23(7), 1407-1418.

Tulyathan, V., Srisupattarawanich, N., & Suwanagul, A. (2008). Effect of rice flour coating on 2-acetyl-1- pyrroline and n-hexanal in brown rice cv. Jao Hom Supanburi during storage. Postharvest Biology and Technology, 47(3), 367-372.

Widjaja, R., Craske, J.D., & Wootton, M. (1996). Changes in volatile components of paddy, brown and white fragrant rice during storage. J. Sci. Food Agric, 71, 218–224.

Yahya, F., Fryer, P.J., & Bakalis, S. (2011). The absorption of 2-acetyl-1-pyrroline during cooking of rice (Oryza sativa L.) with pandan (PandanusamaryllifoliusRoxb.) leaves. Procedia Food Science, 1, 722-728.

Yoshihashi, T., Nguyen, T. T. H., & Kabaki, N. (2004). Area dependencyof 2-acetyl-1-pyrroline content in an aromatic rice variety, KhaoDawk Mali 105.Jarq-Japan Agric. Res. Q, 38, 105–109.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-29