การประเมินความสามารถในการทำกำไรของธุรกิจ

ผู้แต่ง

  • ปฐมพงค์ กุกแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

คำสำคัญ:

การประเมิน, ความสามารถในการทำกำไร

บทคัดย่อ

การประกอบธุรกิจมีการกำหนดเป้าหมายหลักสำคัญ 3 ประการ คือ ความสามารถในการทำกำไร (Profitability) ความสามารถในการชำระหนี้ (Solvency) และสภาพคล่องของธุรกิจ (Liquidity) โดยเป้าหมายที่สำคัญที่สุดอันดับแรก คือ ความสามารถในการทำกำไร ซึ่งเป็นความสามารถขององค์กรธุรกิจในการหาผลประโยชน์หรือผลกำไรให้ได้มากที่สุด และรักษาระดับกำไรไว้ได้คงที่ในทุก ๆ ปี ซึ่งการวัดความสามารถในการทำกำไร สามารถทำได้ 2 ลักษณะ คือ การวัดความสามารถในการทำกำไรที่มีความสัมพันธ์กับยอดขาย และการวัดความสามารถในการทำกำไรที่มีความสัมพันธ์กับการลงทุน ผลลัพธ์ที่แสดงจะบอกถึงความสำเร็จของการบริหารจัดการ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและความมีเสถียรภาพของธุรกิจ อีกทั้งเป็นสัญญาณหรือเครื่องชี้วัดที่สำคัญของผู้บริหารและนักลงทุนสำหรับใช้ประกอบการตัดสินใจลงทุนในธุรกิจ

References

ธนธร จงศิริฐิติศักดิ์. (2555, มกราคม–มิถุนายน). ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างเงินทุนกับคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในดัชนี SET50. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ. 1(1): 19-26.

ธารี หิรัญรัศมี และคณะ. (2558). การบัญชีการเงิน.กรุงเทพฯ: บริษัท จูน พับลิซซิ่ง จำกัด.

เพชรี ขุมทรัพย์. (2555). วิเคราะห์งบการเงิน: หลักการประยุกต์. พิมพ์ครั้งที่ 12. (ฉบับปรับปรุงแก้ไข). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

โสภณ บุญถนอมวงศ์. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการทำกำไรและประสิทธิภาพการบริหารสินทรัพย์. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อินทิพากุลย์ ศรประสิทธิ์. (2554). บรรษัทภิบาลค่าตอบแทนผู้บริหาร และผลการดำเนินงาน ของกิจการ: กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อุรัจฉัท พันธารีย์ และคณะ. (2561, กรกฎาคม-ธันวาคม). ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การจัดการกับผลการดำเนินงานของโรงเรียนนานาชาติในประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยนอร์ท-กรุงเทพ. 7(2): 236-248.

Abel, S.; & Roux, P. L. (2016). Determinants of Banking Sector Profitability in Zimbabwe. International Journal of Economics and Financial Issues. 6(3): 845-854.

Ali , K., Akhtar, M. F.; & Ahmed, H. Z. (2011). Bank-Specific and Macroeconomic Indicators of Profitability-Empirical Evidence from the Commercial Banks of Pakistan. International Journal of Business and Social Science. 2(6): 235-242.

Bougatef, K. (2017). Determinants of Bank profitability in Tunisia: Does Corruption Matter?. Journal of Money Laundering Control. 20(1): 70-78.

Dietrich, A.; & Wanzenried, G. (2014). The Determinants of Commercial Banking Profitability in Low-, Middle-, and High - Income Countries. The Quarterly Review of Economics and Finance. 54(3): 337-354.

Djalilov, K.; & Piesse, J. (2016). Determinants of Bank Profitability in Transition Countries: What Matters Most?. Research in International Business and Finance. 38: 69-82.

Duraj, B.; & Moci, E. (2015). Factors Influencing the Bank Profitability Empirical Evidence From Albania. Romanian Economic and Business Review. 10(1): 60-72.

Garcia, M. T. M.; & Guerreiro, J. P. S. M. (2016). Internal and External Determinants of Banks’ Profitability: The Portuguese Case. Journal of Economic Studies. 43(1): 90-107.

Javid, M. E. (2016). Bank Specific and Macroeconomic Determinants of Bank Profitability. Journal of Management Info. 10(1): 38-54.

Kanas, A., Vasiliou, D.; & Eriotis, N. (2012). Revisiting Bank Profitability: A Semi-parametric Approach. Journal of International Financial Markets, Institutions and Money. 22(4): 990-1005.

Lipunga, A. M. (2014). Determinants of Profitability of Listed Commercial Banks in Developing Countries: Evidence from Malawi. Research Journal of Finance and Accounting. 5(6): 41-49.

Muda, M., Shaharuddin, A.; & Embaya, A. (2013). Comparative Analysis of Profitability Determinants of Domestic and Foreign Islamic Banks in Malaysia. International Journal of Economics and Financial Issues. 3(3): 559-569.

Muthoni, M. R. (2015). The Effect of Liquidity and Solvency on The Profitability of Commercial Banks In Kenya. Degree of Master, The University of Nairobi, Kenya.

Nuray, I. (2015). Analysis of the Factors that Determine the Profitability of the Deposit Banks in Turkey. Journal of Applied Finance and Banking. 5(3): 175-186.

Ongore, V. O. (2013). Determinants of Financial Performance of Commercial Banks in Kenya. International Journal of Economics and Financial Issues. 3(1): 237-252.

Petria, N., Capraru, B.; & Ihnatov, I. (2015). Determinants of Banks’ Profitability: Evidence from EU 27 Banking Systems. Procedia Economics and Finance. 20: 518-524.

Staikouras, C. K.; & Wood, G. E. (2004). The Determinants of European Bank Profitability. International Business & Economics Research Journal. 3(6): 57-68.

Trad, N., Trabelsi, M. A.; & Goux, J. F. (2017). Risk and Profitability of Islamic Banks: A Religious Deception or an Alternative Solution?. European Research on Management and Business Economics. 23(1): 40-45. doi: https://doi.org/10.1016/j.iedeen.2016.09.001

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-29