องค์กรแห่งความเป็นเลิศ: กรณีสถานศึกษา

ผู้แต่ง

  • ภารดี อนันต์นาวี มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ

คำสำคัญ:

องค์กรแห่งความเป็นเลิศ, มาตรฐานสูง, การบริหารคุณภาพอย่างเบ็ดเสร็จ, มาตรฐานสากล

บทคัดย่อ

องค์กรแห่งความเป็นเลิศ เป็นองค์กรที่มุ่งคุณภาพยอดเยี่ยม (The Organization focuses on Excellent Quality) มีมาตรฐานสูง (High Standard) มีคุณค่าและการทำอย่างต่อเนื่อง (Value and Continue) การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ (Systematic) มีการบูรณาการ (Integration) โดยผู้บริหาร ทีมงาน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันดำเนินงานด้วยกระบวนการบริหารจัดการตามหลักการพัฒนาคุณภาพจากเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (The Malcolm Baldrige National Quality Award: MBNQA) และแนวคิดของการบริหารคุณภาพแบบการบริหารคุณภาพอย่างเบ็ดเสร็จ (Total Quality Management: TQM) ประยุกต์การประเมินการบริหารจัดการองค์กรที่ครอบคลุมภาพรวมในทุกมิติที่ยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล ประกอบด้วย 7 ด้าน คือ การนำองค์กร (Leading) การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) ให้ความสำคัญกับลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Customers and Stakeholders Important) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management) การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (Human Resource) การจัดการกระบวนการ (Process Management) ผลลัพธ์การดำเนินการ (Results) โดยมีการประเมิน 4 ด้าน คือ ประสิทธิผล (Effectiveness) คุณภาพ (Quality) ประสิทธิภาพ (Efficiency) และการพัฒนาองค์กร (Organizational development)

References

กมลทิพย์ ใจดี. (2556). รูปแบบความสัมพันธ์สาเหตุขององค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินงานสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนเอกชน. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ทศพร ศิริสัมพันธ์. (2549). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารราชการแนวใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: วิชั่น พริ้นท์ แอนด์ มีเดีย.

บัณฑิต ประสิทธิ์นอก; และสุวพร เซ็มเฮง. (2562, กรกฎาคม-ธันวาคม). รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ. 7(2): 86-95.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. (2561). เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ปี 2561-2562. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ.

สมาน อัศวภูมิ. (2559, มกราคม-เมษายน). ความเป็นเลิศและการจัดการความเป็นเลิศ. อุบลราชธานี: วารสารการบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต. 16(31).

สันติชัย ใจชุ่มชื่น; ภารดี อนันต์นาวี; เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม. (2562). รูปแบบการบริหารนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. วารสาร การบริหารการศึกษา มศว. 16(31): 12-25.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). มาตรฐานการศึกษาของชาติ: แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564). กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2549). องค์กรที่มีขีดความสมรรถนะสูงหรือมีความเป็นเลิศ (High performance organization). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (2557). รูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงสถานศึกษาเอกชนสู่ความเป็นเลิศ. กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.

สำนักงานมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา. (2558). เกณฑ์การศึกษาเพื่อการดำเนินคุณภาพที่เป็นเลิศ ฉบับปี 2558-2561. กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.

สำนักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ. (2561). เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award: TQA) ปี พ.ศ. 2561-2562. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). ร่าง กรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ. พ.ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.

อุดม คชินทร. (2558). บทเรียนจากการประชุมวิชาการงานมหกรรมคุณภาพ (Quality Fair) ประจำปี 2558 ปาฐกถาพิเศษ. สืบค้นเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2562 จาก http://www1.si.mahidol.ac.th/km/sites/default/files/u11/2559som_.pdf.

Attafar, A.; Forouzan, B.; & Shojaei; M. (2012). Evaluation of Organizational Excellence Based on Peters and Waterman's Model in Tuka Steel Investment Holding. American Journal of Scientific Research. (50): 119-137.

Baldrige Performance Excellence Program. (2013). 2013-2014 Education Criteria for Performance Excellence. Gaithersburg, MD: U.S. Department of Commerce, National Institute of Standards and Technology.

David, G.C.; & Kamel, M. (2009). Strategic Talent Management A Review and Research Agenda. Human Resource Management Review. 19: 304-313.

DePorter, B. (2000). The 8 Keys of Excellence: Principles to Live by. FL: Forum Learning.

De Waal, A. (2007). “The Characteristics of High Performance Organization,” Business Strategy Series 8(3) (Emerald Group Publishing): 179-185.

Dmitry, K., & Elena, Z. (2011). HRD Practices and Talent Management in the Companies with the Employer Brand. European Journal of Training and Development. 36: 86-104.

Hawk, B. J. (2004). Baldrige Criteria for Performance Excellence in Millions Public School: Understanding and Implementation. Retrieved September 7, 2019, from http://wwwlib.umi.com.

Kaye, T.; & Andy, P. (2007). The Essential Guide to Managing Talent. Britain: Kogan Page Publishers.

kromchol.nd.go.th. (2562). การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ. สืบค้นเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2562 จาก http://kromchol.rid.go.th/reform/PMQ.

Maytwin, P. (2018). 21st Century Skill: ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2562 จากhttps://medium.com/base-the-business-playhouse.

Pickett, J. P. (2011). The American Heritage Dictionary of the English Language 5th ed., Boston: Houghton Mifflin Harcourt.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-29